ผู้เขียน หัวข้อ: Sound and vibration Control เผื่อท่านที่อยากรู้ครับ  (อ่าน 7203 ครั้ง)

0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้

ออฟไลน์ อู๊ด โคจร

  • ลงทะเบียน HL
  • ขี้โม้ระดับสุดยอด
  • *
  • กระทู้: 6842
  • You'll never drunk alone
Sound and vibration Control เผื่อท่านที่อยากรู้ครับ
« เมื่อ: วันที่ 29 เมษายน 2015, 14:20:43 น. »
ที่มาที่ไป http://www.coe.or.th/coe/main/coeHome.php?aMenu=701012&aSubj=94&aMajid=7
เวบนี้มีความรู้ดีๆ ที่ใช้อ้่างอิงอย่างเป็นรูปธรรม มากมายครับ  :cheer: :cheer: :cheer:

สาขา : สิ่งแวดล้อม
วิชา : Noise and Vibration Control
เนื้อหาวิชา : 655 : 1. Behavior of sound waves; instrumentation
ข้อที่ 1 : ปรากฏการณ์กลบเสียงที่เกิดจากต้นกำเนิดเสียงหนึ่งโดยต้นกำเนิดเสียงอื่น เรียกว่า
1 : Echo
2 : Masking Noise
3 : Reverberation
4 : Resonance
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 2 : การสั่นพ้อง (Resonance) ของคลื่นเสียง หมายถึง
1 : ปรากฏการณ์ที่คลื่นเสียง 2 คลื่นมีความดันเสียงเท่ากันรวมกัน เสียงจึงเบาลง
2 : ปรากฏการณ์ที่คลื่นเสียง 2 คลื่นมีความดันเสียงเท่ากันรวมกัน เสียงจึงดังมากขึ้น
3 : ปรากฏการณ์ที่คลื่นเสียง 2 คลื่นมีความถี่เท่ากันรวมกัน เสียงจึงเบาลง
4 : ปรากฏการณ์ที่คลื่นเสียง 2 คลื่นมีความถี่เท่ากันรวมกัน เสียงจึงดังมากขึ้น
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 3 : ข้อใดไม่มีผลค่อความเร็วของเสียง
1 : ความสูง
2 : อุณหภูมิ
3 : ความหนาแน่น
4 : ระยะทาง
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 4 : ความเร็วของเสียง มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิอย่างไร
1 : ไม่มีความสัมพันธ์กัน
2 : เพิ่มขึ้นตามอุณหภูมิ
3 : ลดลงเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น
4 : คงที่ขณะที่อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 5 : ความเร็วของเสียงในอากาศ มีความสัมพันธ์กับความหนาแน่นอากาศอย่างไร
1 : ไม่มีความสัมพันธ์กัน
2 : เพิ่มขึ้นตามความหนาแน่นอากาศ
3 : ลดลงเมื่อความหนาแน่นเพิ่มขึ้น
4 : คงที่ขณะที่ความหนาแน่นเปลี่ยนแปลง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 6 : ความเร็วของเสียงมีความสัมพันธ์กับความถี่อย่างไร ถ้าความยาวคลื่นคงที่
1 : ไม่มีความสัมพันธ์กัน
2 : เพิ่มขึ้นตามความถี่
3 : ลดลงเมื่อความถี่เพิ่มขึ้น
4 : เท่ากันทุกความถี่
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 7 : ระดับเสียงที่วัดด้วยเครื่องวัดเสียง คือข้อใด
1 : sound intensity level
2 : sound pressure level
3 : sound power level
4 : loundness level
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 8 : เสียงของเครื่องบินที่บินอยู่ในอากาศ จัดเป็นแหล่งกำเนิดเสียงแบบใด
1 : แหล่งกำเนิดเสียงแบบจุด (point source)
2 : แหล่งกำเนิดเสียงแบบเส้น (line source)
3 : แหล่งกำเนิดเสียงแบบระนาบ (plane source)
4 : แหล่งกำเนิดเสียงแบบผสม (combined source)
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 9 : เสียงจากถนนที่มีรถยนต์วิ่งอยู่อย่างหนาแน่น จัดเป็นแหล่งกำเนิดเสียงแบบใด
1 : แหล่งกำเนิดเสียงแบบจุด (point source)
2 : แหล่งกำเนิดเสียงแบบเส้น (line source)
3 : แหล่งกำเนิดเสียงแบบระนาบ (plane source)
4 : แหล่งกำเนิดเสียงแบบผสม (combined source)
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 10 : ข้อใดเป็นช่วงความถี่แบบ octave band ที่ centre frequency 500 Hz
1 : ความถี่ช่วง 354 Hz ถึง 707 Hz
2 : ความถี่ช่วง 400 Hz ถึง 600 Hz
3 : ความถี่ช่วง 450 Hz ถึง 560 Hz
4 : ความถี่ช่วง 500 Hz ถึง 1000 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 11 : จงรวมระดับเสียงต่อไปนี้เข้าด้วยกัน 51 dB + 62 dB ได้ผลลัพธ์เท่าใด
1 : 51 dB
2 : 62 dB
3 : 63 dB
4 : 113 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 12 : หูคนทั่วไปได้ยินเสียงดังเป็นสองเท่า เมื่อระดับเสียงเปลี่ยนไปเท่าใด
1 : 3 dB
2 : 5 dB
3 : 6 dB
4 : 10 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 13 : เสียงจากโรงงานอุตสาหกรรมที่ระยะห่าง 10 เมตรวัดระดับเสียงได้ 80 dBA จงหาระดับเสียงที่ระยะ 40 เมตร
1 : 20 dBA
2 : 68 dBA
3 : 74 dBA
4 : 77 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 14 : จงหาผลลัพธ์ของระดับเสียง (sound pressure level) จากแหล่งกำเนิดเสียง 4 แหล่งรวมกัน คือ 60 dB + 60 dB+ 60 dB + 60 dB
1 : 63 dB
2 : 66 dB
3 : 120 dB
4 : 240 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 15 : เสียงจากเครื่องบินที่บินอยู่บนอากาศ วัดระดับเสียงที่ระยะ 100 เมตร ได้ 80 dBA ถ้าเครื่องบินลงจอดที่พื้นโดยที่กำลังของเสียงยังเท่าเดิม ค่าของระดับเสียงที่ระยะ 100 เมตร จะเป็นเท่าใด
1 : 74 dBA
2 : 77 dBA
3 : 83 dBA
4 : 86 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 16 : ในการวางตำแหน่งของแหล่งกำเนิดเสียงในห้อง ตำแหน่งใดทำให้ระดับเสียงที่ระยะ 1 เมตร จากแหล่งกำเนิดมีระดับมากที่สุด
1 : ตำแหน่งกลางอากาศ ห่างจากผนัง
2 : ตำแหน่งบนพื้นกลางห้อง
3 : ตำแหน่งชิดผนังห้อง
4 : ตำแหน่งบนพื้นมุมห้อง
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 17 : เมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ไปทางขวา โมเลกุลของอากาศที่ติดกับลูกสูบจะมีความดันเพิ่มขึ้น และเมื่อลูกสูบเคลื่อนที่ไปทางด้านซ้ายจะทำให้ความดันลดลงซึ่งก็จะทำให้โมเลกุลของอากาศถัดมารับอิทธิพลต่อๆ กันไปโดยมีระยะห่างของเวลาไล่ๆกันไป ระยะห่างระหว่างจุดสูงสุดของความดันเรียกว่า
1 : wave front
2 : plane wave
3 : wave ray
4 : wave length
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 18 : คลื่นเสียงจะใช้เวลา 1 คาบ (period) ที่จะทำให้คลื่นเคลื่อนที่ไป 1 หน่วยของ
1 : wave front
2 : plane wave
3 : wave ray
4 : wave length
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 19 : ถ้าคลื่นเสียงมีคาบ (period) ของคลื่นเสียงที่สอดคล้องกับรูปแบบการเคลื่อนที่แบบ Simple Harmonic Motion เป็น 0.021 s จงหาความถี่ (frequency) ในหน่วย Hz
1 : > 50
2 : < 10
3 : น้อยกว่า 50 แต่มากกว่า 10
4 : ข้อมูลไม่เพียงพอ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 20 : ข้อใดไม่ถูกต้อง
1 : เสียงเดินทางในอากาศได้ช้ากว่าในน้ำ
2 : เสียงเดินทางในน้ำได้ช้ากว่าในเหล็ก
3 : เสียงเดินทางในอากาศร้อนได้ช้ากว่าในอากาศเย็น
4 : เสียงเดินทางในของแข็งได้เร็วกว่าในก๊าซ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 21 : ข้อใดไม่ถูกต้อง
1 : โดยทั่วไป การที่คลื่นเสียงเคลื่อนที่ไป 1 period จะทำให้คลื่นเคลื่อนที่ไป 1 wave length
2 : คลื่นเสียงทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของความดัน(เมื่อเทียบกับ ความดันปกติ) โดยเปลี่ยนแปลงไปในรูป sine
3 : ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเสียงไม่เป็นเส้นตรง
4 : ทิศทางการเคลื่อนที่ของคลื่นเสียงคือ wave ray
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 22 : คลื่นเสียงที่สะท้อนจากพื้นผิวมีขนาดและตำแหน่งที่เท่ากับคลื่นเสียงที่ตกกระทบ ทำให้มีการหักล้างกันไปในบางตำแหน่งเรียกว่า
1 : progressive wave
2 : standing wave
3 : spherical wave
4 : attenuation wave
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 23 : ข้อใดเป็นหน่วยของพลังงานเสียง ณ ตำแหน่งที่เราได้รับฟังเสียงจริง
1 : ความดัน ในหน่วย ปาสคาล
2 : กำลัง ในหน่วย วัตต์
3 : ความเข้ม ในหน่วย วัตต์ ต่อ ตารางเมตร
4 : พลังงาน ในหน่วย จูลล์
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 24 : ข้อใดถูกต้อง
1 : เสียงเดินทางในอากาศเย็นได้เร็วกว่าอากาศร้อน
2 : เสียงเดินทางได้เร็วขึ้นในตัวกลางที่มีความหนาแน่นสูง
3 : เสียงอาจเดินทางเป็นแนวโค้งได้โดยอิทธิพลของสื่งแวดล้อม
4 : เราจะได้ยินเสียงความถี่สูงได้ดีกว่าเสียงที่มีความถี่ต่ำกว่าเสมอ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 25 : ถ้าแหล่งกำเนิดเสียง A ทำให้เกิดระดับเสียง 55 dBA และ แหล่งกำเนิดเสียง B ทำให้เกิดระดับเสียง 65 dBA ถ้า ทั้ง A และ B กำเนิดเสียงพร้อมกัน จะทำให้เกิดระดับเสียงรวมคือ
1 : 65 dBA
2 : 68 dBA
3 : 78 dBA
4 : 130 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 26 : ถ้าแหล่งกำเนิดเสียง A ทำให้เกิดระดับเสียง 65 dBA และ ถ้ามีแหล่งกำเนิด A จำนวน 3 ชุด กำเนิดเสียงพร้อมกัน จะทำให้เกิดระดับเสียงรวมคือ
1 : 65 dBA
2 : 68 dBA
3 : 69.5 dBA
4 : 71 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 27 : ถ้าแหล่งกำเนิดเสียง A ทำให้เกิดระดับเสียง 65 dBA และ ถ้ามีแหล่งกำเนิด A จำนวน 4 ชุด กำเนิดเสียงพร้อมกัน จะทำให้เกิดระดับเสียงรวมคือ
1 : 65 dBA
2 : 68 dBA
3 : 69.5 dBA
4 : 71 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 28 : ดัชนีวัดความดังของเสียง (loudness) ในหน่วย Sone นั้น ถ้ามีแหล่งกำเนิด 10 Sone และ 15 Sone เมื่อเกิดขึ้นพร้อมกันจะได้ความดังเสียงรวมเท่าใด
1 : น้อยกว่า 25 Sone
2 : มากกว่า 25 Sone
3 : เท่ากับ 25 Sone
4 : ข้อมูลไม่เพียงพอ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 29 : เสียงจากส้อมเสียงความถี่ 440 Hz ความเร็วเสียงในอากาศมีค่าประมาณ 330 เมตร/วินาที ความยาวคลื่นเสียงมีค่าเท่าไร
1 : 0.05 เมตร
2 : 0.75 เมตร
3 : 1.00 เมตร
4 : 1.25 เมตร
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 30 : ความยาวของคลื่นมาตรฐาน A 440 Hz มีค่าเท่าไรในน้ำ สมมุติความเร็วเสียงในน้ำเท่ากับ 1,500 เมตร/วินาที
1 : 4.61 m
2 : 4.18 m
3 : 3.41 m
4 : 3.18 m
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 31 : ความยาวของคลื่นมาตรฐาน A 440 Hz มีค่าเท่าไรในเหล็ก สมมุติความเร็วเสียงในเหล็กเท่ากับ 5,000 เมตร/วินาที
1 : 12.23 m
2 : 11.36 m
3 : 17.67 m   
4 : 18.46 m
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 32 : ความยาวของคลื่นมาตรฐาน A 440 Hz มีค่าเท่าไรในแก้ว สมมุติความเร็วเสียงในแก้วเท่ากับ 5,500 เมตร/วินาที
1 : 11.5 m
2 : 12.5 m
3 : 13.5 m
4 : 14.5 m
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 33 : มุมหักเหของคลื่นระนาบเคลื่อนที่จากชั้นอากาศที่ 22 องศาเซลเซียส ไปยังชั้นอากาศที่ 20 องศาเซลเซียส ด้วยมุมตกกระทบ 85 องศา มีค่ากี่องศา
1 : 83.1
2 : 84.1
3 : 85.1
4 : 86.1
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 34 : แก๊สที่พ่นออกจากเครื่องยนต์เจ็ท มีอุณหภูมิ 1,700 องศาฟาเรนไฮท์ จงหาอัตราเร็วของเสียงในกระแสแก๊สซึ่งสมมุติว่าส่วนใหญ่เป็นอากาศ
1 : 2,200 fps
2 : 2,100 fps
3 : 2,000 fps
4 : 1,900 fps
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 35 : จงหา characteristic impedance ของอากาศที่ 20 องศาเซลเซียส ที่มีความหนาแน่น 1.21 กิโลกรัม/ลบ.ม. และอัตราความเร็วเสียง 343 เมตร/วินาที ในหน่วย mks rayls
1 : 400
2 : 405
3 : 410
4 : 415
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 36 : เสียงก้องของปืนได้ยิน 4.0 วินาที หลังการยิง หน้าผาอยู่ห่างจากนายพรานกี่เมตร ใช้ c=330 เมตร/วินาที
1 : 165   
2 : 330
3 : 660
4 : 1,320
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 37 : จงคำนวณระดับความดันเสียง Lp ของความดันเสียงค่า rms 100 Pa ในหน่วย dB
1 : 114
2 : 124
3 : 134
4 : 144
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 38 : ระดับความดันเสียงเป็น dB จะเพิ่มเท่าไร ถ้าความดันเสียงเพิ่มเป็นสองเท่า
1 : 8 dB
2 : 6 dB
3 : 4 dB
4 : 2 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 39 : เมื่อเสียงตกตั้งฉากกับกำแพง ค่าสัมประสิทธิ์การส่งผ่านเสียงจะเป็นอย่างไร
1 : เป็น 0
2 : มีค่าน้อยมาก
3 : มีค่่าปานกลาง
4 : มีค่ามากที่สุด
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 40 : คอมเพรสเซอร์แบบแกน single-stage มีใบพัด 20 ใบ ความถี่ของ ฮาร์มอนิกที่สองมีค่าเท่าไร ถ้าคอมเพรสเซอร์หมุน 6,000 รอบต่อนาที
1 : 1,000 Hz
2 : 2,000 Hz
3 : 3,000 Hz
4 : 4,000 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 41 : ใบเลื่อยมี 64 ฟัน หมุน 6400 rpm impact frequency ของฟันเลื่อยมีค่าเท่าไรสำหรับความถี่หลักมูล
1 : 1,814 Hz
2 : 2,428 Hz
3 : 3,627 Hz   
4 : 4,256 Hz   
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 42 : SPL ของเสียง pure tone มีค่า 104 dB ค่าความดันเสียงแบบ rms เท่ากับกี่ Pa
1 : 5.25   
2 : 1.34
3 : 3.16
4 : 2.68
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 43 : ในการวัดเสียงเครื่องมือกลที่อยู่ตอนท้ายของแนวประกอบเครื่อง (final assemby line) เสียงภูมิหลัง (background noise) จากอุปกรณ์ที่อยู่ติดกันทั้งหมดวัดได้ 92 dBA เมื่อรวมกับเสียงเครื่องมือกลจะเป็น 99 dBA ระดับเสียงของเครื่องมือกลจะเป็นเท่าไร
1 : 96 dB   
2 : 97 dB   
3 : 98 dB   
4 : 99 dB   
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 44 : ระดับเสียงภูมิหลังในบริเวณเครื่องบรรจุอาหารเท่ากับ 93 dBA เมื่อติดตั้งเครื่องบรรจุใหม่ 1 เครื่อง ระดับเสียงเพิ่มเป็น 96 dBA ระดับเสียงของเครื่องบรรจุใหม่มีค่าประมาณเท่าไร
1 : 90 dBA
2 : 91 dBA
3 : 92 dBA
4 : 93 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 45 : จงหากำลังเสียงของเครื่อง air compressor แบบมีใบพัด กำลัง 100 hp ซึ่งมี sound power level 130 dB
1 : 5 W
2 : 10 W
3 : 15 W
4 : 20 W
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 46 : เสียงจากส้อมเสียง 440 Hz วัด SPL ได้ 54 dB ที่ระยะรัศมี 10 เมตร โดยคิดว่าคลื่นเสียงแผ่โดยรอบอย่างสม่ำเสมอ ระดับกำลังของเสียงเป็นเท่าไร
1 : 94.8 dB
2 : 84.8 dB
3 : 74.8 dB
4 : 64.8 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 47 : จงคำนวณ SPL ในหน่วย dB จากความดันเสียงแบบ rms 0.0002 pa
1 : 10
2 : 20
3 : 30
4 : 40
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 48 : จงคำนวณ SPL ในหน่วย dB จากความดันเสียงแบบ rms 20 pa
1 : 110
2 : 120
3 : 130
4 : 140
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 49 : ระดับเสียง 110 dB มีค่า rms sound pressure ในหน่วย Pa เท่าไร
1 : 3.26
2 : 6.32
3 : 2.63
4 : 110
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 50 : ระดับเสียง 74 dB มีค่า rms sound pressure ในหน่วย Pa เท่าไร
1 : 0.10
2 : 0.21
3 : 1.02
4 : 1.20
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 51 : ระดับเสียง 0 dB มีค่า rms sound pressure ในหน่วย Pa เท่าไร
1 :
2 :
3 :
4 :
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 52 : SPL วัดที่ระยะ 30 ฟุต จากหม้อแปลงได้ 92 dB สำหรับเสียงเด่น 120 Hz ค่าความดันเสียงแบบ rms ที่จุดวัดเป็นเท่าใด
1 : 0.6 Pa
2 : 0.8 Pa
3 : 1.0 Pa
4 : 1.2 Pa
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 53 : Sound power level ของแหล่งกำเนิดเสียง มีค่าเท่าไร หากกำลังเป็น 50 W
1 : 137 dB
2 : 141 dB
3 : 145 dB
4 : 149 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 54 : Sound power level ของแหล่งกำเนิดเสียง มีค่าเท่าไร หากกำลังเป็น 0.003 W
1 : 88.8 dB
2 : 90.8 dB
3 : 92.8 dB
4 : 94.8 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 55 : Sound power level 90 dB ได้มาจากกี่วัตต์
1 : 0.001
2 : 0.002
3 : 0.003
4 : 0.004
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 56 : จงหาความถี่หลักมูลของเสียงพัดลมแกน 4 ใบ หมุนด้วยอัตราเร็ว 100 r/s
1 : 100 Hz
2 : 200Hz
3 : 300 Hz
4 : 400 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 57 : ความถี่หลักมูลของ gear meshing สำหรับ reducing gear หมุน 3600 rpm มีฟัน 32 ซี่ มีค่าตามข้อใด
1 : 1,920 Hz
2 : 1,930 Hz
3 : 1,940 Hz
4 : 1,950 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 58 : เสียงจากเครื่องยนต์ดีเซล 6 สูบที่ 1800 rpm มีความถี่ของฮาร์มอนิกที่ 1 กี่ Hz
1 : 180
2 : 360
3 : 540
4 : 720
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 59 : Pinion gear มี 36 ฟัน gear meshing frequency มีค่าเท่าไร ถ้าเกียร์ถูกขับด้วยอัตรา 1,740 rpm
1 : 1,000 Hz
2 : 1,044 Hz
3 : 1,088 Hz
4 : 1,132Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 60 : Pinion gear มี 36 ฟัน gear meshing frequency มีค่าเท่าไร ถ้าเกียร์ถูกขับด้วยอัตรา 3,450 rpm
1 : 2,000 Hz
2 : 2,070 Hz
3 : 2,140 Hz
4 : 2,210 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 61 : ซี่ฟันเฟืองซึ่งขับ timing belt มี 12 ฟัน และวิ่งด้วยอัตรา 1740 rpm ความถี่หลักมูลที่ซี่เฟืองกระทบ timing belt มีค่าเท่าไร
1 : 312 Hz
2 : 324 Hz
3 : 336 Hz
4 : 348 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 62 : 1/3 octave bands ที่มีความถี่ศูนย์กลางอยู่ที่ 160 Hz มีขีดจำกัดความถี่สูงและต่ำเป็นเท่าไร
1 : 150 และ 172 Hz
2 : 130 และ 190 Hz
3 : 141 และ 178 Hz
4 : 160 และ 190 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 63 : สำหรับ octave bands มีความถี่ศูนย์กลางอยู่ที่ 500 Hz มีขีดจำกัดความถี่สูงและต่ำเท่าไร
1 : 354 และ 709 Hz
2 : 432 และ 675Hz
3 : 450 และ 550 Hz
4 : 378 และ 627 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 64 : Directivity index สำหรับแนวตัดกันของสองระนาบ มีค่า 6 dB directivity factor มีค่าเท่าไร
1 : 4
2 : 6
3 : 8
4 : 10
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 65 : ไซเรนมีระดับกำลังเสียง 140 dB สมมติว่าไซเรนเป็น point source มี directivity factor Q = 1 SPL ที่ระยะ 1,609 เมตร (1 ไมล์) มีค่าเท่าไร
1 : 55 dB   
2 : 60 dB   
3 : 65 dB   
4 : 70 dB   
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 66 : ไซเรนมีระดับกำลังเสียง 140 dB สมมติว่าไซเรนเป็น point source มี directivity factor Q = 1 SPL ที่ระยะ 3,218 เมตร (2 ไมล์) มีค่าเท่าไร
1 : 39 dB
2 : 49 dB
3 : 59 dB
4 : 69 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 67 : คลื่นการสั่นในพื้นดิน (ground vibration) เช่น body wave ข้อใดไม่ถูกต้อง
1 : การระเบิดใต้ดินทำให้เกิด body wave ที่ระยะสั้น
2 : คลื่น body แผ่ออกไปเป็นรูปครึ่งวงกลม
3 : เมื่อ body wave เคลื่อนมาตัดกับแนวแบ่งเขต เช่น อีกชั้นหนึ่งของพื้นดินจะเกิดคลื่นเฉือน และคลื่นผิวดิน
4 : คลื่นผิวดิน (Rayleigh wave) จะเดินไปได้ไกล
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 68 : มอเตอร์ไฟฟ้ามีระดับกำลังเสียง 92 dB แผ่เสียงออกสู่บริเวณโดยรอบมี directivity index ที่ 90 องศากับเส้นผ่านกลางจุด (centerline) ค่า+5 dB และที่ 180 องศา ค่า –2 dB SPL ที่ระยะ 5 เมตรตามแนวรัศมีจะเป็นเท่าไร สำหรับ 180 องศากับ centerline
1 : 65 dB
2 : 60 dB
3 : 55 dB
4 : 50 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 69 : มอเตอร์ไฟฟ้ามีระดับกำลังเสียง 92 dB แผ่เสียงออกสู่บริเวณโดยรอบมี directivity index ที่ 90 องศากับเส้นผ่านกลางจุด (centerline) ค่า+5 dB และที่ 180 องศา ค่า –2 dB SPL ที่ระยะ 5 เมตรตามแนวรัศมีเท่าไร สำหรับ 90 องศากับ centerline
1 : 80 dB
2 : 76 dB
3 : 72 dB
4 : 68 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 70 : sound power level โดยรวมของเครื่องปรับอากาศเครื่องหนึ่งคือ 111 dB SPL ที่ระยะ 2 เมตร จะเป็นเท่าไรถ้าเครื่องปรับอากาศติดตั้งในกำแพง
1 : 86 dB
2 : 89 dB
3 : 92 dB
4 : 97 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 71 : sound power level โดยรวมของเครื่องปรับอากาศเครื่องหนึ่งคือ 111 dB SPL ที่ระยะ 2 เมตร จะเป็นเท่าไรถ้าเครื่องปรับอากาศติดตั้งในกำแพงใกล้พื้น
1 : 96 dB
2 : 99 dB
3 : 102 dB
4 : 105 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 72 : แหล่งกำเนิดเสียงมีระดับกำลัง 100 dB ส่งเสียงสู่ free space SPL ที่ 10 เมตร มุม 30 องศา มีค่า 75 dB directivity index มีค่าเท่าไรสำหรับ 30 องศา
1 : 2 dB
2 : 4 dB
3 : 6 dB
4 : 8 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 73 : มวล 2 กิโลกรัม วางอยู่บนสปริง ซึ่งมี stiffness constant 100 N/m ถ้า Viscous damping coeffcient เป็น 5 N-s/m ค่า Critical damping ratio เป็นเท่าไร
1 : 0.010
2 : 0.015
3 : 0.020
4 : 0.025
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 74 : มวล 2 กิโลกรัม วางอยู่บนสปริง ซึ่งมี stiffness constant 100 N/m ถ้า Viscous damping coeffcient เป็น 5 N-s/m ค่า Damped natural frequency ของระบบเป็นเท่าไร
1 : 1.29 Hz
2 : 1.39 Hz
3 : 1.49 Hz
4 : 1.59 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 75 : มวล 2 กิโลกรัม วางอยู่บนสปริง ซึ่งมี stiffness constant 100 N/m ความถี่ธรรมชาติแบบ undamped ของระบบเป็นเท่าไร
1 : 2.13 Hz
2 : 3.12 Hz
3 : 1.12 Hz
4 : 2.11 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 76 : จากการวัดระดับเสียงที่แหล่งกำเนิดเสียงแห่งหนึ่งพบว่า เครื่องวัดให้ข้อมูลดังนี้ 80 dBA 110 dBB และ 111 dBC ถือว่าแหล่งกำเนิดเสียงนี้ให้เสียงอยู่ในช่วงใด
1 : ช่วงความถี่ต่ำเป็นส่วนใหญ่
2 : ช่วงความถี่กลางเป็นส่วนใหญ่
3 : ช่วงความถี่สูงเป็นส่วนใหญ่
4 : ทุกช่วงความถี่ใกล้เคียงกัน
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 77 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
1 : อากาศสามารถดูดซับเสียงความถี่ต่ำได้ดีกว่าเสียงความถี่สูง
2 : ระดับความดันเสียงขณะที่เครื่องบินขึ้นมากกว่าขณะที่เครื่องบินลง
3 : ที่ความเร็วต่ำ เสียงจากท่อไอเสียของรถยนต์คือเสียงรบกวนหลักจากรถยนต์
4 : ที่ความเร็วสูง เสียงจากยางรถยนต์คือเสียงรบกวนหลักจากรถยนต์
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 78 : ความดัน rms ของคลื่นความดันแบบไซน์คือ ความดันสูงสุดคูณด้วยตัวเลขในข้อใด

1 :
2 :
3 :
4 :
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 79 : ความดันเสียง rms สูงสุดใกล้ปากกระบอกปืนใหญ่วัดได้ 4.38x104 Pa  SPL สูงสุดเป็นเท่าใด
1 : 157 dB
2 : 167 dB
3 : 177 dB
4 : 187 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 80 : ระดับเสียงแถบความถี่ออคเทฟต่อไปนี้ วัดในสำนักงานอยู่ชิดกับโรงเครื่องกล จงคำนวณความดัง

1 : 40 sones
2 : 44 sones
3 : 48 sones
4 : 52 sones
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 81 : ระดับเสียงแถบความถี่ออคเทฟต่อไปนี้ วัดในสำนักงานอยู่ชิดกับโรงเครื่องกล จงคำนวณระดับความดังในสำนักงาน

1 : 90 phons
2 : 92 phons
3 : 94 phons
4 : 96 phons
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 82 : ถ้าระดับเสียงในพื้นที่เพิ่มขึ้น 10 dB ความดังจะมีค่าเป็นกี่เท่าของความดังเดิม
1 : 2 เท่า
2 : 3 เท่า
3 : 4 เท่า
4 : 5 เท่า
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 83 : ผลบวกของดัชนีความดังสำหรับการวิเคราะห์แบบ 1/3 octave มีค่า 105 และมีค่าดัชนีความดังสูงสุด (maximum loudness index) Im= 35 ค่าความดังจะเป็นเท่าไร (ใช้ K=0.15)
1 : 35 sones
2 : 40 sones
3 : 45 sones
4 : 50 sones
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 84 : ผลบวกของดัชนีความดังสำหรับการวิเคราะห์แบบ 1/3 octave มีค่า 105 และมีค่าดัชนีความดังสูงสุด (maximum loudness index) Im=35 ระดับความดังจะเป็นเท่าไร (ใช้ K=0.15)
1 : 90 phons
2 : 95 phons
3 : 100 phons
4 : 105 phons
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 85 : จากการวัดระดับเสียง 12 ครั้ง ตามระยะรัศมี 10 เมตร จากเครื่องยนต์ดีเซลเครื่องหนึ่งได้ SPL เฉลี่ย 98.3 dBA ที่ 10 เมตร แต่ทำมุม 90 องศากับเครื่องยนต์ วัดระดับเสียงได้ 103.5 dBA directivity index ที่ 90 องศามีค่าเท่าไร
1 : 4.6 dB
2 : 4.8 dB
3 : 5.0 dB
4 : 5.2 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 86 : ถ้ากำหนดให้ r เป็นระยะทางจากแหล่งกำเนิดเสียงแบบจุด (point source) ความเข้มของเสียง ณ จุดนั้นจะแปรตามข้อใด
1 : r
2 : 1/r
3 : r2
4 : 1/r2
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 87 : ถ้าแหล่งกำเนิดเสียงเป็นแบบเส้น (line sources) ติดต่อกันที่ระยะ r จากแนวแกนของแหล่งกำเนิดเสียง ความเข้มเสียงจะแปรตามค่าใด
1 : r
2 : 1/r
3 : r2
4 : 1/r2
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 88 : Fresnel number มีสูตรอย่างไร คือ d ผลต่างของทางเดินเสียง
1 : d/2l
2 : l/2d
3 : 2d/l
4 : 2l/d
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 89 : ค่า rms voltage จาก accelerometer ยึดติดกับ gear box เท่ากับ 25 mv (rms) ถ้าสัญญาณเป็นแบบไซน์ และความไวของ accelerometer เป็น 50 mV/g ค่า rms ของความเร่งจะเป็นเท่าไร
1 : 4.9 m/s2
2 : 5.9 m/s2
3 : 6.9 m/s2
4 : 7.9 m/s2
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 90 : Accelerometer ซึ่งมีความไว 72.9 mV/g ยึดติดกับแท่นของเครื่องยนต์เจ็ทขณะวิ่งขึ้น output voltage วัดได้ 500 mV ความเร่งของความสั่นสะเทือนบนเครื่องเจ็ทจะเป็นเท่าไร
1 : 57.4 m/s2
2 : 67.3 m/s2
3 : 77.2 m/s2
4 : 87.1 m/s2
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 91 : อัมพลิจูดของความเร่งของความสั่นสะเทือนแบบไซน์ของพัดลมใหญ่วัดได้ 100 m/s2 ที่ 30 Hz ค่า Peak ของความเร็วจะเป็นเท่าไร
1 : 0.49 m/s
2 : 0.53 m/s
3 : 0.57 m/s
4 : 0.61 m/s
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 92 : อัมพลิจูดของความเร่งของความสั่นสะเทือนแบบไซน์ของพัดลมใหญ่วัดได้ 100 m/s2 ที่ 30 Hz การกระจัดเป็นเท่าไร
1 : 0.0128 m
2 : 0.0028 m
3 : 0.0078 m
4 : 0.0098 m
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 93 : ความเข้มของเสียง (I) เป็นสัดส่วนกับความดันเสียงอย่างไร
1 : I  P
2 : I  P2
3 : I  P3
4 : I  P4
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 94 : ความเข้มเสียง (I) ในเทอมของความดันเสียง (P) ความหนาแน่นอากาศ (r) และความเร็วเสียงในอากาศ (C) สัมพันธ์กันอย่างไร
1 : I = P/rC
2 : I = P2/(r2C2)
3 : I = P2/(rC)
4 : I = P/(rC2)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 95 : ความดันเสียงแบบ rms มีค่า 20 Pa ระดับเสียง (SPL) มีค่าเท่าไร (ความดันอ้างอิง 2 x 10-5 Pa)
1 : 100 dB
2 : 120 dB
3 : 140 dB
4 : 160 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 96 : กำลังของเสียงส่งออกจากแหล่งกระจายโดยรอบสม่ำเสมอ ไม่มีสิ่งกีดขวาง จะเป็นเท่าไร ถ้าความดันเสียงที่ระยะ 5 เมตร เท่ากับ 1 Pa (สมมติให้ rC = 400 rayls)
1 : 0.678 วัตต์
2 : 0.786 วัตต์
3 : 0.867 วัตต์
4 : 0.687 วัตต์
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 97 : รถไฟวิ่งผ่านที่ดินแห่งหนึ่ง วัด LAE ได้ 95.8 dBA ใช้เวลาวิ่งผ่านไป 12 วินาที Leq เป็นเท่าไร
1 : 80 dBA
2 : 85 dBA
3 : 90 dBA
4 : 95 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 98 : ระดับความเร่งแบบ rms ของการสั่น ที่ด้ามจับของเครื่องมือเครื่องหนึ่ง วัดได้ 15 dB สูงกว่าของแหล่งกำเนิดการสั่นสะเทือนที่ฐาน ซึ่งค่า rms เท่ากับ 6.94 m/s2 ความเร่งที่ด้ามจับของเครื่องเป็นเท่าไร
1 : 30 m/s2
2 : 33 m/s2
3 : 36 m/s2
4 : 39 m/s2
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 99 : อัมพลิจูดการขจัดของการสั่นวัดได้ 250 mm เปลี่ยนเป็น dB จะได้เท่าไร เมื่อเทียบกับ 10-11 m
1 : 136 dB
2 : 140 dB
3 : 144 dB
4 : 148 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 100 : อัมพลิจูดความเร็วของการสั่นของเครื่องจักรวัดได้ 96 dB เทียบกับ 10-6 mm/s อัมพลิจูดความเร็วสัมบูรณ์เป็นเท่าไร
1 : 0.063 mm/s
2 : 0.060 mm/s
3 : 0.057 mm/s
4 : 0.054 mm/s
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ออฟไลน์ อู๊ด โคจร

  • ลงทะเบียน HL
  • ขี้โม้ระดับสุดยอด
  • *
  • กระทู้: 6842
  • You'll never drunk alone
Re: Sound and vibration Control เผื่อท่านที่อยากรู้ครับ
« ตอบกลับ #1 เมื่อ: วันที่ 29 เมษายน 2015, 14:21:50 น. »
ข้อที่ 101 : ที่ระยะ 10 เมตร จากแหล่งเสียงที่แผ่ออกโดยรอบอย่างสม่ำเสมอ กำลัง 1 วัตต์ ระดับเสียงเป็นเท่าไร
1 : 80 dB
2 : 83 dB
3 : 86 dB
4 : 89 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 102 : อัตราเร็วการหมุนของเครื่องบินสองเครื่องยนต์ต่างกัน 120 rpm จงหาความถี่บีท ของเสียงที่นักบินได้ยิน
1 : 1 Hz
2 : 2 Hz
3 : 3 Hz
4 : 4 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 103 : เสียงจากเครื่องยนต์ดีเซล ซึ่งใช้หมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า มีลักษณะเป็นคาบ มีเสียงหลักมูลฐาน 240 Hz และมีฮาร์โมนิกที่สูงกว่าหลายค่า ชุดเครื่องยนต์-เครื่องกำเนิดไฟฟ้าตั้งอยู่นอกอาคาร มีหลังคาเหล็กกันฝน การสั่นสะเทือนเสียงจากหลังคาทำให้เกิดคลื่นนิ่งมี node ห่างกันเท่าไรของความถี่หลักมูลฐาน ใช้อัตราเร็วเสียง 1110 ฟุต/วินาที
1 : 2.29 ฟุต
2 : 3.29 ฟุต
3 : 4.29 ฟุต
4 : 5.29 ฟุต
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 104 : เสียงจากเครื่องยนต์ดีเซล ซึ่งใช้หมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า มีลักษณะเป็นคาบ มีเสียงหลักมูลฐาน 240 Hz และมีฮาร์โมนิกที่สูงกว่าหลายค่า ชุดเครื่องยนต์-เครื่องกำเนิดไฟฟ้าตั้งอยู่นอกอาคาร มีหลังคาเหล็กกันฝน การสั่นสะเทือนเสียงจากหลังคาทำให้เกิดคลื่นนิ่งมี node ห่างกันเท่าไรของฮาร์มอนิกที่ 3 ใช้อัตราเร็วเสียง 1110 ฟุต/วินาที
1 : 1.76 ฟุต
2 : 1.43 ฟุต
3 : 1.13 ฟุต
4 : 0.76 ฟุต
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 105 : คลื่นระนาบแบบไซน์แผ่นอกอาคารด้วยแอมพลิจูด 10 Pa ความเข้มเสียงมีค่ากี่ W/m2 ถ้า rC = 415 mks rayls
1 : 0.12
2 : 0.15
3 : 0.18
4 : 0.21
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 106 : จงคำนวณ SPL ในหน่วย dB จากความดันเสียงแบบ rms 104 Pa
1 : 164
2 : 174
3 : 184
4 : 194
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 107 : เพดานของห้องๆหนึ่ง ต้องการติดพัดลมสำหรับระบบกรองฝุ่น จงคำนวณระดับเสียงรวม (worst case) ของ blower 24 เครื่อง ถ้าแต่ละตัวทำเสียง 75 dB ที่ระดับหูซึ่งอยู่ใต้ลงมา
1 : 111 dB
2 : 99.9 dB
3 : 88.8 dB
4 : 77.7 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 108 : ปั๊ม 3 ชนิดในห้องสถานีกำลัง ถ้าแยกกันทำงาน วัดระดับเสียงที่ตำแหน่งผู้ควบคุมได้ 91 , 88 และ 96 dB ตามลำดับ ถ้าปั๊มทั้งสามเดินพร้อมกัน ระดับเสียงรวมเป็นเท่าไร
1 : 96.4 dB
2 : 97.7 dB
3 : 99.5 dB
4 : 100.2 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 109 : ที่ความถี่ศูนย์กลาง 1000 Hz ในแถบความถี่แบบ 1/2 octave ขีดจำกัดความถี่สูงและต่ำเป็นเท่าใด
1 : 800 และ 1,100 Hz
2 : 841 และ 1,149 Hz
3 : 750และ 1,250 Hz
4 : 625 และ 1,250 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 110 : SPL วัดที่ระยะ 100 เมตร จากจรวดของทหารมีค่า 154 dB สมมุติว่าการแผ่เสียงเป็นแบบทรงกลมสม่ำเสมอ จงหาความเข้มเสียงที่ 100 เมตร
1 : 2,400 W/m2
2 : 2,421 W/m2
3 : 2,512 W/m2
4 : 2,600 W/m2
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 111 : สำหรับ 1/2 octave bands ความถี่ศูนย์กลางจะเป็นข้อใด
1 : Fc = 21/10FL
2 : Fc = 21/8FL
3 : Fc = 21/2FL
4 : Fc = 21/4FL
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 112 : จากการยิงจรวด ระดับความดันเสียงวัดที่ระยะ 100 m มีค่า 154 dB กำลังเสียง (sound power) ของจรวดมีค่าตามข้อใด
1 : 3 x 105 W
2 : 3 x 106 W
3 : 3 x 107 W
4 : 3 x 108 W
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 113 : เสียงจากส้อมเสียง 440 Hz วัด SPL ได้ 54 dB ที่ระยะรัศมี 10 เมตร โดยคิดว่าคลื่นเสียงแผ่โดยรอบอย่างสม่ำเสมอ SPL ที่ระยะ 20 เมตรเป็นเท่าไร
1 : 50 dB
2 : 48 dB
3 : 46 dB
4 : 44 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 114 :
จงคำนวณระดับเสียงทั้งหมด Lp ของระดับ octave bands
63 Hz, 72 dB ; 125 Hz, 78 dB ;  250 Hz, 80 dB ; 500 Hz, 82 dB ;
1000 Hz, 80 dB ; 2000 Hz, 83 dB ; 4000 Hz, 84 dB และ 8000 Hz, 74 dB
1 : 86 dB
2 : 88 dB
3 : 90 dB
4 : 92 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 115 : sound power level 45 dB ได้มาจากกี่วัตต์
1 : 1.16 x 10-8
2 : 2.16 x 10-8
3 : 3.16 x 10-8
4 : 4.16 x 10-8
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 116 : Sound power level (เทียบกับ 10-12) ของมอเตอร์เล็กๆตัวหนึ่งมีค่า 92 dB ระดับกำลังของมอเตอร์ 4 ตัวจะเป็นเท่าใด
1 : 96 dB
2 : 98 dB
3 : 100 dB
4 : 102 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 117 : ระดับของแบบความถี่ออคเทฟ วัดที่ 500 ฟุต จากโรงไฟฟ้าเป็นดังนี้ : 63 Hz 74 dB; 125 Hz 63 dB; 250 Hz 50 dB; 500 Hz 48 dB; 1000 Hz 46 dB; 2000 Hz 40 dB; 4000 Hz 35 dB; 8000 Hz 30 dB; ระดับเสียงรวมถ่วงน้ำหนักแบบ A มีค่าเท่าใด
ตารางค่าแก้แบบ A weightings
½ Octave
Band Centre Frequency Hz
ค่า dB
A
31.5
-39.4
63
-26.2
125
-16.1
250
-8.6
500
-3.2
1,000
0.0
2,000
1.2
4,000
1.0
8,000
-1.1
16,000
-6.6
1 : 50 dBA
2 : 55 dBA
3 : 60 dBA
4 : 65 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 118 : ปั๊มไฮดรอลิก 4 สูบ สำหรับเครื่องหล่อแบบพลาสติกทำงานที่ 3,450 rpm ความถี่ของการอัดแบบมูลฐาน เป็นเท่าไร
1 : 115 Hz
2 : 230 Hz
3 : 345 Hz
4 : 460 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 119 : ระดับกำลังเสียงของเครื่องอัดอากาศขนาดเล็กเครื่องหนึ่งคือ 103 dBA ถ้าเครื่องอัดอากาศติดตั้งอยู่ที่มุมของห้องเครื่องกล ระดับเสียงที่ 7 เมตร จะเป็นเท่าไร
1 : 84 dBA
2 : 88 dBA
3 : 92 dBA
4 : 96 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 120 : ที่ระยะ 200 เมตร จากทางหลวง วัดได้ 82 dBA โดยคิดว่าเป็นการแผ่เสียงแบบเส้น ระดับเสียงจะเป็นเท่าไรที่ 400 เมตร
1 : 76 dBA
2 : 79 dBA
3 : 82 dBA
4 : 85 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 121 : ระดับความดันเสียง (SPL) มีคำนิยามตามข้อใด
เมื่อ P1 = ความดันเสียงใดเสียงหนึ่ง
       P0 = ความดันเสียงอ้างอิง
1 : SPL = log10(P1/P0)
2 : SPL = 10·log10(P1/P0)
3 : SPL = 20·log10(P1/P0)
4 : SPL = log10(P1/P0)2
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 122 : ความเข้มของเสียงเป็นเท่าไร ถ้าค่าความดันแบบ rms เป็น 200 Pa (ให้จุด po=415 kg m s2)
1 : 92 W/m2
2 : 94 W/m2
3 : 96 W/m2
4 : 98 W/m2
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 123 : เสียงมีความเข้ม 0.01 W/m2 จะมีระดับความเข้มเสียงเท่าใด
1 : 70 dB
2 : 80 dB
3 : 90 dB
4 : 100 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 124 : Crest factor มีค่าเท่ากับค่าในข้อใด
1 : ค่า Peak / ค่า RMS
2 : ค่า Peak/
3 : ค่า RMS/
4 : ·ค่า RMS
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 125 : ความเร็วเสียงในอากาศที่สภาวะมาตรฐานเป็นเท่าไร
1 : 1,200 เมตรต่อวินาที
2 : 400 เมตรต่อวินาที
3 : 345 เมตรต่อวินาที
4 : 200 เมตรต่อวินาที
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 126 : ความเร็วของเสียงในวัสดุของแข็งแตกต่างกับความเร็วของเสียงในอากาศอย่างไร
1 : ช้ากว่าในอากาศ
2 : เท่ากับในอากาศ
3 : เร็วกว่าในอากาศ
4 : เสียงไม่สามารถทะลุผ่านวัสดุของแข็ง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 127 : ระดับความดันเสียงที่ลดลงตามระยะห่างจากแหล่งกำเนิดแบบเส้น (line source) เท่ากับ
1 : 10 dB เมื่่อระยะห่างเพิ่มเป็นสองเท่า
2 : 6 dB เมื่อระยะห่างเพิ่มเป็นสองเท่า
3 : 3 dB เมื่่อระยะห่างเพิ่มเป็นสองเท่า
4 : 0 dB เมื่่อระยะห่างเพิ่มเป็นสองเท่า
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 128 : ระดับกำลังเสียงอ้างอิง (reference sound power level) เท่ากับ
1 : 1 Pa
2 : 1 Watts
3 : 10-12 Watts
4 : 94 Watts
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 129 : พัดลมชนิด 12 ใบพัด หมุนด้วยความเร็วรอบ 900 รอบต่อนาที ความถี่การหมุนของใบพัดเท่ากับเท่าไร
1 : 900 Hz
2 : 360 Hz
3 : 180 Hz
4 : 90 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 130 : แหล่งกำเนิดเสียงชนิด Mono-Pole คือ
1 : แหล่งกำเนิดเสียงที่มีจุดกำเนิดเสียงเพียงจุดเดียว
2 : แหล่งกำเนิดเสียงที่มีจุดกำเนิดเสียงหลายจุด
3 : แหล่งกำเนิดเสียงที่มีจุดกำเนิดเสียงน้อยกว่า 10 จุด
4 : แหล่งกำเนิดเสียงที่มีจุดกำเนิดเสียงที่อยู่บนเสา
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 131 : แหล่งกำเนิดเสียงชนิด Multi –Pole คือ
1 : แหล่งกำเนิดเสียงที่มีจุดกำเนิดเสียงเพียงจุดเดียว
2 : แหล่งกำเนิดเสียงที่มีจุดกำเนิดเสียงอยู่บนเสา
3 : แหล่งกำเนิดเสียงที่มีจุดกำเนิดเสียงหลายจุด
4 : แหล่งกำเนิดเสียงที่มีจุดกำเนิดเสียงอยู่รอบเสา
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 132 : Noise Propagation คือ
1 : การเพิ่มความดังของเสียงจากความถี่เพิ่มขึ้น
2 : การลดความดังของเสียงเมื่อเวลาผ่านไป
3 : ความเข้มของเสียงที่เดินทางในอากาศ
4 : การเดินทางของเสียงที่กระจายตัวออกจากจุดกำเนิดเสียง
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 133 : Leq คืออะไร
1 : Equality Sound Level ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยทางสถิติของเสียงในช่วงเวลาที่ทำการวัด
2 : Equivalent Sound Level ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยทางสถิติของเสียงในช่วงเวลาที่ทำการวัด
3 : Equality Sound Level ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยทางพลังงานของเสียงในช่วงเวลาที่ทำการวัด
4 : Equivalent Sound Level ซึ่งเป็นค่าเฉลี่ยทางพลังงานของเสียงในช่วงเวลาที่ทำการวัด
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 134 : Lmax คืออะไร
1 : ค่าระดับเสียงสูงสุดที่วัดได้ในช่วงเวลาของการวัด
2 : ค่าระดับเสียงสูงสุดที่วัดได้ใน Real Time Measurement
3 : ค่าระดับเสียงสูงสุดในช่วง 5% แรกของการวัด
4 : ค่าระดับเสียงสูงสุดในช่วง 10% แรกของการวัด
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 135 : L10 คืออะไร และมีความหมายถึงอะไร
1 : ระดับเสียงที่ 10 % ของช่วงเวลาของการวัดมีระดับเสียงที่ต่ำกว่าระดับนี้ หมายถึง Peak Noise Level
2 : ระดับเสียงที่ 10 % ของช่วงเวลาของการวัดมีระดับเสียงที่ต่ำกว่าระดับนี้ หมายถึง Background Noise Level
3 : ระดับเสียงที่ 10 % ของช่วงเวลาของการวัดมีระดับเสียงที่เกินระดับนี้ หมายถึง Background Noise Level
4 : ระดับเสียงที่ 10 % ของช่วงเวลาของการวัดมีระดับเสียงที่เกินระดับนี้ หมายถึง Peak Noise Level
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 136 : L90 คืออะไร และมีความหมายถึงอะไร
1 : ระดับเสียงที่ 90 % ของช่วงเวลาของการวัดมีระดับเสียงต่ำกว่าระดับนี้ หมายถึง Background Noise Level
2 : ระดับเสียงที่ 90 % ของช่วงเวลาของการวัดที่ระดับเสียงที่เกินระดับนี้ หมายถึง Background Noise Level
3 : ระดับเสียงที่เกินกว่า 90 % ของช่วงเวลาของการวัด หมายถึง Peak Noise Level
4 : ระดับเสียงที่น้อยกว่า 90 % ของช่วงเวลาของการวัด หมายถึง Peak Noise Level
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 137 : Leq มีความแตกต่างจาก L50 อย่างไร
1 : Leq เป็นค่าพื้นฐานของพลังงานเสียง, L50 เป็นค่าพื้นฐานทางสถิติของเสียง
2 : Leq เป็นค่าเฉลี่ยทางสถิติเสียงในช่วงเวลาของการวัด, L50 เป็นค่าเฉลี่ยทางพลังงานของเสียงในช่วงเวลาของการวัด
3 : Leq เป็นค่าฉลี่ยทางพลังงานของเสียงในช่วงเวลาของการวัด, L50 เป็นค่าเฉลี่ยทางสถิติของเสียงในช่วงเวลาของการวัด
4 : Leq เป็นค่าเฉลี่ยทางพลังงานของเสียง, L50 เป็นค่าเฉลี่ยทางสถิติของเสียง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 138 : เสียงประเภท Point Source มีลักษณะอย่างไร
1 : เป็นเสียงที่เกิดจากต้นกำเนิดเสียงประเภทจุด เช่น รถยนต์คันเดียว, คอมเพรซเซอร์
2 : เป็นเสียงที่เกิดจากต้นกำเนิดเสียงประเภทกลุ่ม
3 : เป็นเสียงที่เกิดจากต้นกำเนิดเสียงชนิดไม่เคลื่อนที่
4 : เป็นเสียงที่เกิดจากต้นกำเนิดเสียงชนิดเคลื่อนที่
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 139 : เสียงประเภท Line Source มีลักษณะอย่างไร
1 : เสียงที่มีต้นกำเนิดเสียงที่เป็นเส้นที่เคลื่อนที่เป็นเส้น เช่น เสียงจากเส้นถนนทางหลวง
2 : เสียงที่มีต้นกำเนิดเสียงที่เป็นเส้นที่เคลื่อนที่เป็นเส้น เช่น เสียงจากขบวนรถไฟที่จอดตรงสถานี
3 : เสียงที่มีต้นกำเนิดเสียงที่เป็นเส้น เช่น วงดุริยางค์
4 : เสียงที่มีต้นกำเนิดเสียงที่เป็นเส้น เช่น Line ของการผลิตในโรงงาน
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 140 : Near Field ของเสียงคืออะไร
1 : บริเวณที่อยู่ใกล้กับแหล่งกำเนิดเสียงที่ซึ่ง Inverse Square Law สามารถใช้ Apply ได้ โดยอยู่ในระยะ 4-5 ความยาวคลื่นเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียง
2 : บริเวณที่อยู่ใกล้กับแหล่งกำเนิดเสียงที่ซึ่ง Inverse Square Law ไม่สามารถใช้ Apply ได้ โดยอยู่ในระยะ 4-5 ความยาวคลื่นเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียง
3 : บริเวณที่อยู่ใกล้กับแหล่งกำเนิดเสียงที่ซึ่ง Inverse Square Law ไม่สามารถใช้ Apply ได้ โดยอยู่ในระยะ 2-3 ความยาวคลื่นเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียง
4 : บริเวณที่อยู่ใกล้กับแหล่งกำเนิดเสียงที่ซึ่ง Inverse Square Law สามารถใช้ Apply ได้ โดยอยู่ในระยะ 2-3 ความยาวคลื่นเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 141 : Far Field ของเสียง ประกอบด้วยกี่ส่วน อะไรบ้าง
1 : ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ Free Part และ Reverberant Part
2 : ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ Free Part , Reverberant Part และ Echo Part
3 : ประกอบด้วย 3 ส่วนคือ Free Part, Fix Part และ Echo Part
4 : ประกอบด้วย 2 ส่วนคือ Reverberant Part และ Echo Part
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 142 : Free Part ของเสียงคืออะไร
1 : บริเวณที่ Sound Pressure Level เป็น 2 เท่าของ Inverse Square Law
2 : บริเวณที่ Sound Pressure Level เป็นไปตาม Inverse Square Law
3 : บริเวณที่ Sound Pressure Level ไม่เป็นไปตาม Inverse Square Law
4 : บริเวณที่ Sound Pressure Level ตรงข้ามกับ Inverse Square Law
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 143 : Reverberant Part ของเสียงคืออะไร
1 : บริเวณที่เป็นพื้นที่ปิดที่ซึ่งคลื่นเสียงที่สะท้อนกลับมานั้นซ้อนทับกับคลื่นเสียงที่วิ่งไป
2 : บริเวณที่เป็นพื้นที่ปิดที่ซึ่งไม่มีคลื่นเสียงซ้อนทับกัน
3 : บริเวณที่เป็นพื้นที่เปิดที่ซึ่งคลื่นเสียงจางหายไป
4 : บริเวณที่เป็นพื้นที่เปิดที่ซึ่งไม่มีคลื่นเสียงกลับมานั้นซ้อนทับกับคลื่นเสียงที่วิ่งไป
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 144 : Diffuse Sound Field มีลักษณะอย่างไร
1 : บริเวณพื้นที่ปิดที่มีคลื่นเสียงวิ่งออกไปจำนวนมากจากหลายทิศทางโดยพลังงานแต่ละส่วนไม่เท่ากัน
2 : บริเวณพื้นที่เปิดที่มีคลื่นเสียงวิ่งออกไปจำนวนมากจากหลายทิศทางโดยพลังงานแต่ละส่วนไม่เท่ากัน
3 : บริเวณพื้นที่เปิดที่มีคลื่นเสียงสะท้อนกลับจำนวนมากจากหลายทิศทางจนกระทั่งพลังงานต่อหน่วยปริมาตรนั้นกระจายเท่ากันตลอดทั้งพื้นที่
4 : บริเวณพื้นที่ปิดที่มีคลื่นเสียงสะท้อนกลับจำนวนมากจากหลายทิศทางจนกระทั่งพลังงานต่อหน่วยปริมาตรนั้นกระจายเท่ากันตลอดทั้งพื้นที่
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 145 : ลักษณะของ Air Borne Noise คือ
1 : คือเสียงที่ส่งผ่านไปในอากาศ
2 : คือเสียงที่ส่งผ่านในของเหลว เช่น น้ำ
3 : คือเสียงที่ส่งผ่านทางอากาศโดยผ่านไปตามช่องว่างต่างๆ บนผนัง ประตู หน้าต่าง หรือพื้น
4 : คือเสียงที่ส่งผ่านไปตามโครงสร้างของอาคารต่างๆ เช่น กำแพง เสา คาน ฐานราก
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 146 : ลักษณะของ Structure Borne Noise คือ
1 : คือเสียงที่ส่งผ่านไปในอากาศ
2 : คือเสียงที่ส่งผ่านในของเหลว เช่น น้ำ
3 : คือเสียงที่ส่งผ่านทางอากาศโดยผ่านไปตามช่องว่างต่างๆ บนผนัง ประตู หน้าต่าง หรือพื้น
4 : คือเสียงที่ส่งผ่านไปตามโครงสร้างของอาคารต่างๆ เช่น กำแพง เสา คาน ฐานราก
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 147 : Infra Sound คืออะไร
1 : เสียงที่มีความถี่ต่ำกว่า 20 Hz ปกติจะอยู่ต่ำกว่าระดับเสียงที่มนุษย์ได้ยิน แต่สามารถรู้สึกได้
2 : เสียงที่มีความถี่ต่ำกว่า 30 Hz ปกติจะอยู่ต่ำกว่าระดับเสียงที่มนุษย์ได้ยิน แต่สามารถรู้สึกได้
3 : เสียงที่มีความถี่ต่ำกว่า 50 Hz ปกติจะอยู่ต่ำกว่าระดับเสียงที่มนุษย์ได้ยิน แต่สามารถรู้สึกได้
4 : เสียงที่มีความถี่ต่ำกว่า 80 Hz ปกติจะอยู่ต่ำกว่าระดับเสียงที่มนุษย์ได้ยิน แต่สามารถรู้สึกได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 148 : Ultra sound มีลักษณะอย่างไร
1 : เป็นเสียงที่มีความถี่ < 50,000 Hz เช่น เสียงที่เกิดจากเครื่องยนต์เจ็ต, เครื่องเจาะความเร็วสูง หรืออุปกรณ์พิเศษที่สร้างเสียงชนิดนี้
2 : เป็นเสียงที่มีความถี่ > 20,000 Hz เช่น เสียงที่เกิดจากเครื่องยนต์เจ็ต, เครื่องเจาะความเร็วสูง หรืออุปกรณ์พิเศษที่สร้างเสียงชนิดนี้
3 : เป็นเสียงที่มีความถี่ > 50,000 Hz เช่น เสียงที่เกิดจากเครื่องยนต์เจ็ต, เครื่องเจาะความเร็วสูง หรืออุปกรณ์พิเศษที่สร้างเสียงชนิดนี้
4 : เป็นเสียงที่มีความถี่ < 20,000 Hz เช่น เสียงที่เกิดจากเครื่องยนต์เจ็ต, เครื่องเจาะความเร็วสูง หรืออุปกรณ์พิเศษที่สร้างเสียงชนิดนี้
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 149 : ลักษณะของ Impulse Noise
1 : เสียงที่มี Sound Pressure เพิ่มขึ้นและลดลงอย่างต่อเนื่อง
2 : เสียงที่มี Sound Pressure เพิ่มขึ้นและลดลงภายในรอบเวลา 1 นาที
3 : เสียงที่มี Sound Pressure เพิ่มขึ้นและลดลงอย่างรวดเร็วในช่วงเวลาสั้นๆ
4 : เสียงที่มี Sound Pressure เพิ่มขึ้นอย่างไม่มีขีดจำกัด
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 150 : Sonic Boom เกิดขึ้นได้อย่างไร
1 : เสียงที่เกิดขึ้นจากเครื่องบินเจ็ตที่บินเร็วกว่าความเร็วเสียง
2 : เสียงที่เกิดขึ้นจากเครื่องบินเจ็ตที่บินใกล้ความเร็วเสียง
3 : เสียงที่เกิดขึ้นจากเครื่องบินเจ็ตที่บินใกล้พื้นดิน
4 : เสียงที่เกิดขึ้นจากเครื่องบินเจ็ตที่บินในระดับสูง
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 151 : Noise Signature คืออะไร
1 : เป็นการบันทึกระดับเสียงที่มีลักษณะเป็นลายเซ็นต์
2 : เป็นการบันทึกระดับเสียงที่เป็นช่วงๆ ตามเวลาที่ผ่านไป
3 : เป็นการบันทึกระดับเสียงตลอดระยะเวลา 24 ชั่วโมงต่อเนื่องกัน
4 : เป็นการบันทึกระดับเสียงที่ต่อเนื่องกันในกระดาษกราฟที่เคลื่อนตัวไปตามเวลา
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 152 : จากการทดลองทางเสียง ปรากฎว่า Sound Pressure ที่ก่อให้เกิดความเจ็บปวดกับหูมนุษย์อยู่ที่ระดับ 200 Pa ให้คำนวณหาค่า Sound Pressure Level (SPL) ในหน่วย dBA ของระดับเบื้องต้นของความเจ็บปวดนี้
1 : SPL = 130 dBA
2 : SPL = 160 dBA
3 : SPL = 140 dBA
4 : SPL = 150 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 153 : ระดับเสียงที่วัดได้ที่เครื่องวัดเสียงที่เกิดจากแหล่งกำเนิดเสียงเดี่ยว A = 90 dBA จาก B = 80 dBA และจาก C = 70 dBA ถ้าหากเปิดเสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงทั้ง 3 พร้อมกัน จะวัดค่าระดับเสียงที่เครื่องวัดเสียงได้เท่าไร
1 : วัดค่าระดับเสียงได้ = 90.45 dBA
2 : วัดค่าระดับเสียงได้ = 91.25 dBA
3 : วัดค่าระดับเสียงได้ = 92 dBA
4 : วัดค่าระดับเสียงได้ = 95 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 154 : Reflection ของคลื่นเสียง เป็นอย่างไร
1 : การที่คลื่นเสียงสามารถถูกดูดซับโดยกำแพงหรือผนัง
2 : การที่คลื่นเสียงสามารถจางหายไปในอากาศ
3 : การที่คลื่นเสียงสามารถเคลื่อนตัวโค้งรอบขอบกำแพงหรือรูเปิดได้
4 : การที่คลื่นเสียงสามารถสะท้อนออกจากกำแพงหรือผนังได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 155 : Diffraction ของคลื่นเสียงเป็นอย่างไร
1 : การที่คลื่นเสียงจางหายไปในบรรยากาศ
2 : การที่คลื่นเสียงสามารถเคลื่อนตัวโค้งรอบขอบของกำแพงหรือรูเปิดได้
3 : การที่คลื่นเสียงสามารถเคลื่อนตัวสะท้อนกลับจากกำแพงหรือผนัง
4 : การที่คลื่นเสียงถูกดูดซับโดยกำแพงหรือผนัง
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 156 : คลื่นเสียงที่เดินทางในบรรยากาศภายนอกอาคารที่มีอากาศอุ่นอยู่ด้านล่าง และอากาศเย็นอยู่ด้านบน จะมีลักษณะการเดินทางของคลื่นเสียงอย่างไร
1 : แนวทางเดินของคลื่นเสียงจะหักเหออกด้านข้าง
2 : แนวทางเดินของคลื่นเสียงเป็นแนวตรง
3 : แนวทางเดินของคลื่นเสียงจะโค้งขึ้นด้านบน
4 : แนวทางเดินของคลื่นเสียงจะโค้งลงด้านล่าง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
เนื้อหาวิชา : 656 : 2. Criteria in measurement
ข้อที่ 157 : หน่วยวัดความถี่ของคลื่นเสียง คือ
1 : dB(A)
2 : Hz
3 : phons
4 : Sabins
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 158 : ข้อใดคือเสียงประเภท Impact Noise
1 : เสียงลมพัด
2 : เสียงจราจร
3 : เสียงยิงปืน
4 : เสียงจากเครื่องปรับอากาศภายในอาคาร
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 159 : ระดับเสียงคงที่ (Steady Noise) คือ
1 : ระดับเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อยกว่า 5 dBA ตลอดเวลาการตรวจวัด
2 : ระดับเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า 5 dBA ตลอดเวลาการตรวจวัด
3 : ระดับเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อยกว่า 10 dBA ตลอดเวลาการตรวจวัด
4 : ระดับเสียงที่มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่า 10 dBA ตลอดเวลาการตรวจวัด
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 160 : เสียงรบกวนในข้อใดไม่อยู่ในกลุ่มเดียวกับข้ออื่น
1 : เสียงจากการจราจร
2 : เสียงจากซ่อมแซมถนน
3 : เสียงจากการก่อสร้าง
4 : เสียงจากกิจกรรมบันเทิงกลางแจ้ง
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 161 : การตรวจวัดระดับเสียง Ldn ในช่วงของการวัด Daytime equivalent sound level (Ld) จะทำการตรวจวัดในช่วงเวลาใด
1 : 07.00 - 20.00 น.
2 : 07.00 – 22.00 น.
3 : 20.00 – 07.00 น.
4 : 22.00 – 07.00 น.
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 162 : ระดับเสียงพื้นฐาน (Background Noise) หมายถึง
1 : ระดับเสียงทั่วไปของแหล่งชุมชน
2 : ระดับเสียงที่ตรวจวัดได้ในช่วงเวลา 20.00-07.00 น.
3 : ระดับเสียงที่ตรวจวัดในสิ่งแวดล้อมขณะที่ไม่มีเสียงรบกวนเฉพาะ
4 : ระดับเสียงที่เกิดขึ้นในส่วนล่างของเครื่องจักรที่ทำงานปกติ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 163 : ข้อใดคือเครื่องตรวจวัดระดับเสียง
1 : Acoustical Meter
2 : Sound Level Meter
3 : Noise Level Meter
4 : Audio Meter
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 164 : ข้อพิจารณาในการเลือกจุดสำหรับการตรวจวัดระดับเสียง คือ
1 : เลือกสถานที่ที่มีสภาพภูมิอากาศและสภาพแวดล้อม เช่น ความชื้น ลม ฝน หรือเสียงแมลง ที่จะไม่เป็นเหตุทำให้การตรวจวัดผิดพลาดไป
2 : เลือกสถานที่ภายนอกอาคารที่สามารถตั้งไมโครโฟนของมาตรวัดได้โดยในรัศมี 5 เมตร ตามแนวราบต้องไม่มีกำแพงสะท้อนเสียงกีดขวางอยู่
3 : เลือกสถานที่ภายในอาคารที่สามารถตั้งไมโครโฟนของมาตรวัดได้โดยในรัศมี 1.5 เมตร ตามแนวราบต้องไม่มีกำแพงสะท้อนเสียงกีดขวางอยู่
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 165 : ระดับความดังของเสียง (Loundness level) มีหน่วยใด
1 : dB
2 : dBA
3 : phon
4 : sone
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 166 : หน่วยของเสียงข้อใดมีหน่วยเป็น decibel (dB)
1 : sound pressure level
2 : sound power level
3 : sound intensity level
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 167 : ข้อใดนิยมใช้เป็นหน่วยหรือเกณฑ์อ้างอิงในการวัดเสียง
1 : dBA
2 : NC
3 : NR
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 168 : Anechoic chamber ใช้ทดสอบเสียงแบบใด
1 : วัด sound absorption ของวัสดุ
2 : วัด reverberation time
3 : free field testing ของ noise source
4 : วัด sound insulation ของวัสดุ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 169 : ห้อง Anechoic chamber มีลักษณะแบบใด
1 : ผนังห้องเป็นคอนกรีตผิวเรียบ เอียงไม่ขนานกัน
2 : ผนังห้องบุด้วยวัสดุพรุนหนาผิวเรียบ
3 : ผนังห้องเป็นคอนกรีตผิวเรียบ รูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า
4 : ผนังห้องบุด้วยวัสดุพรุนหนา ผิวไม่เรียบเป็นระเบียบ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 170 : การวัดแบบใดที่ไม่เกี่ยวข้องกับเวลา
1 : L10
2 : Leq
3 : Ldn
4 : Lp
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 171 : ในการวัดพลังงานเสียงเราวัดอยู่ในรูปพลังงานโดยตรงไม่ได้เราจึงต้องวัดพลังงานเสียงในรูป
1 : ความดัน ในหน่วย ปาสคาล
2 : กำลัง ในหน่วย วัตต์
3 : ความเข้ม ในหน่วย วัตต์ ต่อ ตารางเมตร
4 : พลังงาน ในหน่วย จูลล์
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 172 : เสียงที่แผ่จากแหล่งกำเนิดเป็นค่าเฉพาะแหล่งกำเนิดนั้นซึ่งวัด ณ แหล่งกำเนิด เรียกว่า
1 : ความดันเสียง
2 : ความเข้มเสียง
3 : กำลังเสียง
4 : ระดับเสียง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 173 : ดัชนีการวัดเสียงที่เรียกว่า ระดับเสียง (sound level) คำว่า “ระดับ” หรือ “level” มีความหมายถึง
1 : หน่วยการวัดที่เป็นจำนวนนับปกติ
2 : หน่วยการวัดที่ต้องคูณด้วยสิบเสมอ
3 : หน่วยการวัดแบบเรียงลำดับ
4 : หน่วยการวัดในแบบ Log-Scale
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 174 : เดซิเบล เอ เป็นการปรับค่าระดับเสียง ที่ความถี่ต่างๆกันให้ใกล้เคียงกับหูมนุษย์ โดยใช้ค่าระดับเสียงที่ความถี่ใดเป็นค่าระดับเสียงอ้างอิง
1 : 100 Hz
2 : 250 Hz
3 : 500 Hz
4 : 1000 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 175 : เมื่อเปรียบเทียบระดับเสียงที่ยังไม่ถ่วงน้ำหนัก (dB) และกรณีผ่านวงจรถ่วงน้ำหนัก A (dBA) แล้วข้อใดถูกต้อง
1 : dBA < dB เสมอ
2 : dBA > dB เสมอ
3 : dBA = dB เสมอ
4 : dBA อาจจะน้อยกว่า เท่ากับ หรือมากกว่า dB ก็ได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 176 : ถ้าระดับเสียงหนึ่งวัดด้วยวงจรถ่วงน้ำหนัก A, B, C และ F ข้อใดถูกต้อง
1 : dBA จะน้อยกว่า dBB เสมอ
2 : dBA จะมากกว่า dBF เสมอ
3 : dBC จะมากกว่า หรือเท่ากับ  dBB เสมอ
4 : dBC, dBB, dBA จะมากกว่า dBF เสมอ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 177 : ไมโครโฟนประเภทใดใช้หลักการของการเปลี่ยนความจุไฟฟ้าของ capacitor อันเนื่องมาจาก sound pressure
1 : moving coil
2 : condenser
3 : piezoelectric
4 : electret
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 178 : วงจรตอบสนองช้า หรือ slow จะต้องมีอัตราการตอบสนองราว ๆ
1 : 0.125 วินาที
2 : 1 วินาที
3 : 2 วินาที
4 : 3 วินาที
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 179 : วงจรตอบสนองเร็ว หรือ fast จะต้องมีอัตราการตอบสนองราว ๆ
1 : 0.125 วินาที
2 : 1 วินาที
3 : 2 วินาที
4 : 3 วินาที
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 180 : วงจร impulse จะต้องมีอัตราการตอบสนองราว ๆ
1 : 0.4 วินาที
2 : 0.04 วินาที
3 : 0.004 วินาที
4 : 0.0004 วินาที
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 181 : ภายในเครื่องวัดระดับเสียงมีอุปกรณ์ที่ทำหน้าที่ลดระดับสัญญาณที่ได้มาจากการวัดลงมาช่วงละ 10 dB อุปกรณ์นั้นคือ
1 : Attenuator
2 : Amplifier
3 : Rectifier
4 : Internal Filter
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 182 : เครื่องมือวัดแบบใดมักมีราคาสูงที่สุด
1 : Precision
2 : General Purpose
3 : Survey
4 : Type S
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 183 : เครื่องวัดระดับเสียง แบบใดมีความถูกต้องสูงสุด
1 : Type 0
2 : Type 1
3 : Type 2
4 : Type 3
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 184 : ในการตรวจวัดระดับเสียงภายนอกอาคารจะต้องมีอุปกรณ์ชนิดหนึ่งที่ใช้ป้องกันการรบกวนการวัดเนื่องจากลมที่พัดมาปะทะไมโครโฟน อุปกรณ์นั้นคือ
1 : Piston Phone
2 : Wind Screen
3 : Wind Vane
4 : Tripod 3 angle
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 185 : ในการวัดระดับเสียงที่ต้องการวัดค่าระดับเสียงสูงสุดตลอดช่วงการวัดนั้น เครื่องวัดระดับเสียงนั้นจะต้องมีวงจรการวัดชนิดใด
1 : slow
2 : Leq
3 : Ldn
4 : holding
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 186 : ดัชนีวัดเสียง (Descriptor) ที่ใช้ประเมินผลกระทบกรณีเสียงจากเครื่องบิน
1 : Ldn
2 : Leq
3 : CNR
4 : LNP
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 187 : ดัชนีวัดเสียง (Descriptor) ที่ใช้ประเมินผลกระทบต่อคนงาน กรณีเสียงในโรงงานในประเทศไทยคือ
1 : Leq (1hr)
2 : Leq (24 hr)
3 : Leq (8 hr)
4 : Ldn
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 188 : ในการวัดระดับเสียงโดยทั่วไปเราจะใช้วงจรตอบสนองสัญญาณในข้อใด
1 : Fast
2 : Impulse   
3 : Slow
4 : Flat
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 189 : ในการวัดระดับเสียงแยกตามความถี่เราจะใช้เครื่องมือใด
1 : Piston phone
2 : Transducer
3 : Spectrum Analyzer
4 : Type 0 Sound Level Meter
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 190 : การวัดเสียงทั่วไปจะต้องตั้งเครื่องวัดเสียงให้ไมโครโฟนสูงจากพื้นอย่างน้อย
1 : 1 เมตร
2 : 1.2 เมตร
3 : 2.5 เมตร
4 : 3.5 เมตร
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 191 : การวัดเสียงในอาคารจะต้องตั้งเครื่องวัดเสียงให้ห่างจากผนังหรือวัตถุที่สะท้อนเสียงได้อย่างน้อย
1 : 1 เมตร
2 : 1.2 เมตร
3 : 2.5 เมตร
4 : 3.5 เมตร
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 192 : การวัดเสียงนอกอาคารจะต้องตั้งเครื่องวัดเสียงให้ห่างจากผนังหรืออาคาร หรือ ต้นไม้ ที่จะสะท้อนเสียงได้อย่างน้อย
1 : 1 เมตร
2 : 1.2 เมตร
3 : 2.5 เมตร
4 : 3.5 เมตร
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 193 : การวัดเสียงกระแทกต้องใช้เครื่องวัดที่มีความเร็วต่อการตอบสนองกี่วินาที
1 : 35/1000
2 : 40/1000
3 : 45/1000
4 : 50/1000
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 194 : ผู้วัดเสียงถือเครื่องวัดห่างตัวน้อยกว่า 1 เมตร จะทำให้ผลการวัดสำหรับความถี่ 400 Hz มีค่าผิดไปกี่ dB
1 : 2
2 : 4
3 : 6
4 : 8
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 195 : ข้อที่ถูกต้องที่สุดคือข้อใด
1 : ลมไม่ทำให้เสียงดังมากขึ้นขณะผ่านไมโครโฟน
2 : ความชื้นสัมพัทธ์ 90% มีผลน้อยต่อเครื่องวัดเสียง
3 : การเปลี่ยนอุณหภูมิกะทันหันไม่มีผลต่อการวัด
4 : การเปลี่ยนความดันบรรยากาศแม้ที่ความสูงมากก็ไม่มีผลต่อความไวของเครื่องวัด
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 196 : ลักษณะของเสียงข้อใดถูกต้อง
1 : เสียงนาฬิกาปลุกเป็นเสียงแบบต่อเนื่อง
2 : เสียงจากประทัดระเบิดเป็นเสียงแบบรบกวนความถี่ต่ำ
3 : เสียงยุงเป็นเสียงรบกวนแบบความถี่ต่ำ
4 : เสียงเครื่องบินเป็นเสียงรบกวนแบบเป็นพักๆ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 197 : ข้อใดเป็นเหตุผลของการวัดเสียง ถ้ามีลมพัด ควรวัดท้ายลม
1 : ที่ระยะใกล้ประมาณ 50 เมตร ลมมีผลน้อย
2 : เหนือลมระดับเสียงจะเพิ่มประมาณ 20 dB
3 : ถ้ามีลมด้านข้าง ระดับเสียงก็จะเปลี่ยนไปมากหากวัดเหนือลม
4 : ทั้งข้อ 1. ข้อ 2. และข้อ 3. เป็นเหตุผลที่ผิด
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 198 : การวัดระดับความดันเสียงใช้หน่วยอะไร
1 : ปาสกาล (Pa)
2 : เมตร
3 : เมตรต่อวินาที
4 : เดซิเบล
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 199 : ในการวัดเสียงริมถนน ซึ่งเป็นเสียงการจราจร จะต้องตั้งเครื่องวัดห่างฝาบ้านและสูงจากพื้นดินดังข้อใด
1 : ห่างจากฝาบ้าน 3 เมตร สูงจากพื้นดินครึ่งเมตร
2 : ห่างจากฝาบ้าน 2 เมตร สูงจากพื้นดิน 1 เมตร
3 : ห่างจากฝาบ้าน 1 เมตร สูงจากพื้นดิน 1.2 เมตร
4 : ไม่มีข้อถูก
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 200 : เสียงความเข้มเท่ากัน 3 เสียง รวมกัน ระดับจะเพิ่มกี่เดซิเบล
1 : 4.8 dB
2 : 4.5 dB
3 : 4.2 dB
4 : 3.9 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ออฟไลน์ อู๊ด โคจร

  • ลงทะเบียน HL
  • ขี้โม้ระดับสุดยอด
  • *
  • กระทู้: 6842
  • You'll never drunk alone
Re: Sound and vibration Control เผื่อท่านที่อยากรู้ครับ
« ตอบกลับ #2 เมื่อ: วันที่ 29 เมษายน 2015, 14:22:43 น. »
ข้อที่ 201 : ช่วงความถี่เสียงที่หูมนุษย์มีความไวต่อการตอบสนองมากที่สุดคือ
1 : 20-20000 เฮิร์ตซ์
2 : 15-25000 เฮิร์ตซ์
3 : 500-8000 เฮิร์ตซ์
4 : 300-9000 เฮิร์ตซ์
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 202 : เสียงที่ดังเป็น 10,000 เท่าของเสียงที่เบาที่สุดจะเทียบเท่ากับ
1 : 10 เดซิเบลเอ
2 : 40 เดซิเบลเอ
3 : 60 เดซิเบลเอ
4 : 80 เดซิเบลเอ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 203 : ตามปกติเสียงจากแหล่งกำเนิดใดที่มีระดับเสียงเกินกว่า 100 เดซิเบล
1 : เสียงรถบรรทุก
2 : เสียงเครื่องพิมพ์ดีด
3 : เสียงในสวนสาธารณะ
4 : เสียงเครื่องเจาะถนน
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 204 : ความดันเสียงอ้างอิงเฉลี่ยของการได้ยินที่ 1000 Hz มีค่าเท่าไร
1 : 1x10-5 Pa
2 : 2x10-5 Pa
3 : 3x10-5 Pa
4 : 4x10-5 Pa
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 205 : ตามมาตรฐาน ISO อัมพลิจูดที่ใช้อ้างอิง สำหรับระดับความสั่น จะเป็นดังข้อใด
1 : ความเร่ง 10-6 m/s2  ความเร็ว 10-10 m/s
2 : ความเร่ง 10-6 m/s2  ความเร็ว 10-9 m/s
3 : ความเร่ง 10-9 m/s2  ความเร็ว 10-6 m/s
4 : ความเร่ง 10-6 m/s2 ความเร็ว 10-9 m/s
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 206 : ความเร็วอ้างอิงสำหรับวัดระดับการสั่นซึ่งมีหน่วยเดซิเบล คืออะไร
1 : 10-6 m/s
2 : 10-7 m/s
3 : 10-8 m/s
4 : 10-9 m/s
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 207 : ความเร่งอ้างอิงสำหรับวัดระดับการสั่นตาม ISO คืออะไร
1 : 10-6 m/s
2 : 10-7 m/s
3 : 10-8 m/s
4 : 10-9 m/s
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 208 : ตาม ISO ความเข้มเสียงอ้างอิงมีค่าเทาไร
1 : 10-10 W/m2
2 : 10-11 W/m2
3 : 10-12 W/m2
4 : 10-13 W/m2
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 209 : ดัชนีในข้อใดต่อไปนี้ มักใช้ในการประเมินผลกระทบของเสียงจากเครื่องบิน
1 : PNC
2 : LAmax
3 : NEF
4 : NR
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 210 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ดัชนีประเมินระดับเสียง
1 : PNC
2 : NC
3 : RC
4 : DBw
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 211 : โดยทั่วไป คำนิยามของ Reverberation Time คือเวลาที่ใช้เพื่อให้ระดับเสียงลดลงเท่าไร
1 : 30 dB
2 : 60 dB
3 : 60 วินาที
4 : 10 วินาที
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 212 : การปรับเทียบเครื่องวัดเสียง จะใช้ระดับความดันเสียงอ้างอิงเท่าไร
1 : 94 dB
2 : 104 dB
3 : 120 dB
4 : 1 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 213 : ดัชนีระดับเสียงใดต่อไปนี้ที่ใช้วัดระดับเสียงอุตสาหกรรม
1 : LA90
2 : LA10
3 : LAeq
4 : Lamin
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 214 : ดัชนีระดับเสียงใดต่อไปนี้ที่ใช้วัดระดับเสียงทั่วไป (background noise levels)
1 : LAmax
2 : LA90
3 : LA50
4 : LApeak
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 215 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่ไมโครโฟนวัดระดับเสียงแบบมาตรฐาน
1 : Capacitor
2 : Pressure
3 : Resistance
4 : Piezo Electric
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 216 : การทดสอบวัดค่าที่ลดลงของระดับเสียงส่งผ่านผนัง (wall sound transmission loss) ปกติจะทำการวัดใน
1 : Anechoic chamber
2 : พื้นที่โล่ง
3 : Reverberation chamber
4 : Impedance tube
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 217 : ค่าสัมประสิทธิ์การดูดซึมเสียงแบบ Random incidence ปกติจะทำการทดสอบใน
1 : Reverberation chamber
2 : Anechoic chamber
3 : Impedance tube
4 : Acoustic workshop
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 218 : อุปกรณ์ Impedance tube ใช้ในการวัด
1 : ค่าสัมประสิทธิ์การดูดซึมเสียง
2 : การลดลงของเสียงส่งผ่านวัสดุ
3 : Sound impedance
4 : ความเร็วของอนุภาค
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 219 : การวัดเสียงจากเครื่องบิน ตามปกติจะตั้งการตอบสนองของเครื่องวัดเสียงไว้ที่ใด
1 : Fast response
2 : Slow response
3 : Impulse response
4 : Peak response
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 220 : ค่าดัชนีใดที่ใช้วัดระดับผลกระทบของเสียงในห้องที่ปรับแก้แล้ว (ค่าที่ต่ำกว่าแสดงถึงประสิทธิภาพที่สูงกว่า) เมื่อใช้ภายใต้มาตรฐาน ISO 140
1 : FIIC
2 : Dntw
3 : LnTw
4 : dB(A)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 221 : ค่าดัชนีใดที่ใช้ภายใต้มาตรฐาน ISO 717 เพื่อแสดงค่าการสูญเสียของเสียงที่ส่งผ่านในการทดลองภาคสนาม
1 : STC
2 : Rw
3 : Dntw
4 : Lnw
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 222 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่ใช่สเกลถ่วงน้ำหนักเสียงที่ยอมรับกันโดยทั่วไป
1 : A scale
2 : B scale
3 : C scale
4 : D scale
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 223 : Noise Exposure Curve ปกติใช้ในการประเมิน
1 : เสียงจราจร
2 : เสียงรถไฟ
3 : เสียงเครื่องบิน
4 : ความสามารถได้ยิน
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 224 : ระบบกรองเสียง (filter system)ใดที่ปกติใช้ในการประเมินเสียงสูงต่ำ
1 : 1: 1 octave
2 : 1: 1/3 octave
3 : 1: 1/12 octave
4 : Narrow band
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 225 : ภายใต้กระบวนการสอบเทียบมาตรฐาน เครื่องวัดเสียงประเภทที่ 1 และ 2 (Type 1 and 2) เมื่อใช้ในสนาม จะต้องสอบเทียบอย่างต่ำ
1 : ทุก 6 เดือน
2 : ทุก 1 ปี
3 : ทุก 2 ปี
4 : เมื่อมีความจำเป็น
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 226 : ดัชนี LA10 หมายความถึง
1 : ระดับเสียงที่ต่ำกว่าเปอร์เซนต์ไทล์ที่ 10
2 : ระดับเสียงหลังจาก 10 dB
3 : ระดับเสียงหลังจาก 10 วินาที
4 : ระดับเสียงที่เกินร้อยละ 10 ของเวลาตรวจวัด มีระดับเสียงเกินระดับนี้
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 227 : Anechoic Chamber มีคุณสมบัติอย่างไร
1 : เป็นห้องปราศจากเสียง เพื่อใช้ทดสอบอุปกรณ์และวัสดุเกี่ยวกับเสียง
2 : เป็นห้องสะท้อนเสียง เพื่อใช้ทดสอบอุปกรณ์และวัสดุเกี่ยวกับเสียงสำหรับอุปกรณ์และวัสดุต่างๆ
3 : เป็นห้องที่ใช้ทดสอบเสียงก้องและเสียงสะท้อน
4 : เป็นห้องที่ปราศจากเสียงสะท้อน เพื่อใช้ทดสอบอุปกรณ์และวัสดุที่เกี่ยวกับเสียง
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 228 : หน่วยวัดเสียงถ่วงน้ำหนักแบบ dB(A), dB(B), dB(C), dB(D) หน่วยใดที่ถ่วงน้ำหนักใกล้เคียงการตอบสนองของหูคนมากที่สุด
1 : dB(A)
2 : dB(B)
3 : dB(C)
4 : dB(D)
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
เนื้อหาวิชา : 657 : 3. Impact of noise and vibration on man and environment
ข้อที่ 229 : มลพิษทางเสียง (Noise Pollution) แตกต่างจากมลพิษทางสิ่งแวดล้อมอื่นๆ คือ
1 : ไม่ใช่ปัญหาสิ่งแวดล้อมแต่เป็นปัญหาสังคมมากกว่า
2 : เกิดขึ้นแล้วหายไปไม่ทิ้งร่องรอยไว้ให้ตรวจสอบ
3 : ส่งผลกระทบสุขภาพน้อยกว่ามลพิษด้านอื่นๆ
4 : ไม่สามารถสัมผัสได้โดยตรง
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 230 : ความหมายของ Sound และ Noise คือ
1 : Sound หมายถึง เสียงทั่วไป / Noise หมายถึง เสียงรบกวน
2 : Sound หมายถึง เสียงดนตรี / Noise หมายถึง เสียงดัง
3 : Sound หมายถึง เสียงที่เราต้องการ / Noise หมายถึง เสียงที่เราไม่ต้องการ
4 : Sound หมายถึง เสียงทั่วไป / Noise หมายถึง เสียงที่เราไม่ต้องการ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 231 : ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยของการสูญเสียการได้ยิน (Hearing Loss) ของมนุษย์
1 : ลักษณะเฉพาะและสมรรถนะความทนได้ของแต่ละบุคคล
2 : ระดับความดังของเสียงที่บุคคลนั้นได้ยิน
3 : ระยะเวลาที่บุคคลนั้นได้ยิน
4 : ระดับความถี่ของเสียงที่บุคคลนั้นได้ยิน
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 232 : ข้อใดคือผลกระทบโดยตรงของมลพิษทางเสียง
1 : รบกวนการสื่อสารสนทนา
2 : รบกวนการนอนหลับ
3 : รบกวนการทำงาน
4 : ก่อให้เกิดความรำคาญ
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 233 : องค์ประกอบของขั้นตอนการได้ยิน (Acoustical Situation) ประกอบด้วย
1 : Wavelength + Propagation + Sound Pressure
2 : Outer Ear + Middle Ear+ Inner Ear
3 : Sound Source + Transmission Path + Receiver
4 : Incident Sound + Reflected Sound + Transmitted Sound
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 234 : ข้อใดคือผลกระทบอันเนื่องมาจากความสั่นสะเทือน (Vibration)
1 : เกิดเสียงรบกวน
2 : ทำให้อาคารเสียหาย
3 : สร้างความรำคาญให้ผู้อยู่อาศัยในอาคาร
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 235 : อุปกรณ์ป้องกันเสียงรบกวนส่วนบุคคลประเภทใดต่อไปนี้ มีคุณภาพดีที่สุด
1 : Ear Plug
2 : Ear Muff
3 : Semi-aural Unit
4 : Helmet
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 236 : การจัดห้องภายในบ้านเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาของเสียงรบกวน แบบใดควรหลีกเลี่ยงมากที่สุด
1 : ห้องนอนอยู่ติดถนน
2 : ห้องรับแขกอยู่ติดถนน
3 : ห้องครัวอยู่ติดถนน
4 : ห้องนั่งเล่นอยู่ติดถนน
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 237 : ปัจจัยใดไม่มีผลต่อความก้อง (Reverberation) ของห้อง
1 : ปริมาตรของห้อง
2 : การดูดกลืนเสียงภายในห้อง
3 : ระดับเสียงของแหล่งกำเนิดภายในห้อง
4 : พื้นที่ผิวของห้อง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 238 : ขอบเขตการได้ยินของมนุษย์ มีขีดเริ่มของความเจ็บปวด (Threshold of Pain) อยู่ที่ประมาณ
1 : 90 dB
2 : 100 dB
3 : 140 dB
4 : 160 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 239 : หอประชุมแห่งหนึ่งได้รับการออกแบบตกแต่งและทดสอบการก้องเสียงภายใน โดยการปล่อย เสียงระดับความดัน 90 dB จากต้นกำเนิดเสียง ปรากฏว่าเสียงดังกล่าวมีระดับความดันของเสียงลดลงเหลือ 30 dB เมื่อเวลาผ่านไป 1.25 วินาที หมายความว่าหอประชุมแห่งนี้มีค่า Reverberation Time (RT) เท่ากับ
1 : 0.416   วินาที
2 : 1.25   วินาที
3 : 3.75   วินาที
4 : 5.0   วินาที
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 240 : ข้อใดไม่ใช่ข้อสรุปจาก Equal-loudness Contour Chart
1 : ความสามารถในการยินของมนุษย์แปรเปลี่ยนไปตามความดันและความถี่ของเสียง
2 : ความสามารถของหูมนุษย์จะตอบสนองเสียงที่มีความถี่สูงมากกว่าเสียงที่มีความถี่ต่ำ
3 : เสียงที่มีความถี่สูงจะพุ่งออกไปตามแนวยาวของต้นกำเนิดเสียง ในขณะที่เสียงที่มีความถี่ต่ำและปานกลางจะมีรูปแบบที่แน่นอนในทุกทิศทาง
4 : ที่ความถี่ 1000 Hz ระดับความดันของเสียงจะมีค่าเท่ากับระดับความดังของเสียงที่หูได้ยิน
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 241 : ระดับเสียงน้อยที่สุดที่หูคนปกติได้ยินมีค่า sound pressure level เท่าใด
1 : 0 dB
2 : 10 dB
3 : 20 dB
4 : 140 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 242 : ความดันของเสียงน้อยที่สุดที่หูคนปกติได้ยินมีค่าเท่าใด
1 : 0 ไมโครปาสคาล
2 : 20 ไมโครปาสคาล
3 : 2 ปาสคาล
4 : 20 ปาสคาล
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 243 : นอกจากระดับกำลังของเสียงแหล่งกำเนิดแล้ว ระดับเสียงขึ้นกับปัจจัยใดมากที่สุด
1 : อุณหภูมิ
2 : ความชื้น
3 : ระยะทาง
4 : ความสูง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 244 : ท่อ Eustachain เชื่อมต่ออยู่กับ
1 : หูชั้นนอก
2 : หูชั้นกลาง
3 : หูชั้นใน
4 : ต่อจาก Cochlea
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 245 : อว้ยวะในหูชนิดใดทำหน้าที่รับสัญญาณเสียงที่ผ่านเข้ารูหูแล้วเปลี่ยนสัญญาณด้งกล่าวเป็นความสั่นสะเทือน
1 : ใบหู
2 : เยื่อแก้วหู
3 : กระดูกรูปค้อน
4 : คลอเคลีย
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 246 : เยื่อที่มีรูปร่างเป็นเส้นยืดหยุ่นตลอดแนวของ Cochlea เรียกว่า
1 : Munson
2 : Dagson
3 : Anvil
4 : Basilar Membrane
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 247 : ในหูขอเรามีอวัยวะที่ตอบสนอง หรือ รับสัญญาณเสียงแยกตามช่วงความถี่แล้วจึงส่งสัญญาณนั้นไปยังประสาทรับฟังเสียง (Auditory Nerve) คือ
1 : เยื่อแก้วหู
2 : ใบหู
3 : กระดูกรูปค้อน
4 : คลอเคลีย
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 248 : ข้อใดเป็นลักษณะการได้ยินของหูของคนปกติ
1 : จะได้ยินเสียงความถี่สูงได้ดีกว่าเสียงความถี่ต่ำเสมอ
2 : จะได้ยินเสียงความถี่ต่ำได้ดีกว่าเสียงความถี่สูงเสมอ
3 : จะได้ยินเสียงความถี่ 1000 Hz ได้ดีที่สุด
4 : เราจะได้ยินเสียงความถี่ 2000 – 4000 Hz ได้ดีกว่าเสียง ที่ความถี่ 1000 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 249 : กราฟแสดงระดับเสียงต่ำสุดที่หูมนุษย์ปกติเริ่มได้ยินในแต่ละช่วงความถี่เรียกว่า Minimum Audible Field (MAF) ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของ MAF
1 : ไม่มีส่วนที่มีค่าเป็นลบ
2 : ยิ่งความถี่ต่ำๆค่าจะสูงขึ้น
3 : ยิ่งความถี่สูงๆค่าจะสูงขึ้น
4 : ค่าต่ำสุดอยู่ที่ประมาณ 2000 – 4000 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 250 : อวัยวะในข้อใดที่ไม่ได้อยู่ในหูชั้นใน
1 : Eustachian tube
2 : basilar membrane
3 : organ of corti
4 : hair cells
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 251 : ความถี่เสียงที่หูเราจะได้ยินอยู่ในช่วง
1 : 50 – 1000 Hz
2 : 100 – 2000 Hz
3 : 20 – 20000 Hz
4 : 10 - 100000 Hz
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 252 : ข้อใดถูกต้อง
1 : เครื่องวัดเสียงคือเครื่องมือที่ใช้วัดพลังงานของคลื่นเสียงในรูปความเข้มของเสียง
2 : เครื่องวัดเสียงวัดพลังงานของคลื่นเสียงได้ต่ำกว่าพลังงานเสียงจริงๆเสมอ
3 : เสียงที่เราได้ยินส่วนใหญ่เป็นแบบ “pure tone”
4 : ระดับเสียงต่ำสุดที่คนจะได้ยินประมาณ 0 dBA
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 253 : reverberation time หรือ “เวลาสะท้อน” เป็นดัชนีที่ใช้ในการวัดคุณภาพของห้องในกรณีของเสียง ดังนั้นห้องบรรยายน่าจะมี reverberation time
1 : น้อยกว่าห้องฟังเพลง
2 : มากกว่าห้องฟังเพลง
3 : ไม่น้อยกว่า 10 วินาที
4 : ไม่น้อยกว่า 1 นาที
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 254 : อาการของการสูญเสียการได้ยิน เมื่ออายุมากขึ้นเรียกว่า
1 : SLIPS
2 : Presbycusis
3 : Noise Induced Cochlea Injury
4 : NITTS
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 255 : Acoustic trauma คือ
1 : การสูญเสียการได้ยินแบบชั่วคราวแบบหนึ่ง
2 : การสูญเสียการได้ยินแบบถาวรแบบหนึ่ง เกิดขึ้นอย่างทันที
3 : อาการของการสูญเสียการได้ยิน เมื่ออายุมากขึ้น
4 : การสูญเสียการได้ยินเนื่องจากการล้าของ hair cell ชั่วคราว
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 256 : Speech Interference level (SIL) ใช้ในการ
1 : หา articulation index ของเสียงรบกวน
2 : วัดการรบกวนของเสียงต่อการสนทนา
3 : วัดอัตราการดูดซับเสียง
4 : วัดอัตราการสะท้อนเสียง
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 257 : ข้อใดไม่ใช่เป็นผลของเสียงต่อการทำงาน
1 : เสียงที่ความถี่ค่อนข้างสูงมีแนวโน้มที่จะรบกวนการทำงานมากกว่าเสียงที่มีความถี่ต่ำ
2 : เสียงรบกวนน่าจะลดความเร็วของการทำงาน
3 : เสียงรบกวนมีแนวโน้มที่จะเพิ่มความรอบคอบของงาน
4 : เสียงรบกวนมีผลต่องานที่ซับซ้อนมากกว่างานที่มีความยากในระดับธรรมดา
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 258 : การใช้เกณฑ์การได้รับเสียงสะสมแบบ Daily Noise Dose (D) เป็นเกณฑ์การพิจารณาโดยพัฒนามาจาก Noise Exposure Rating เกณฑ์ในการพิจารณาค่า D คือ
1 : ต้องไม่เกิน 100
2 : ต้องไม่เกิน 70
3 : ต้องไม่เกิน 10   
4 : ต้องไม่เกิน 1
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 259 : ความเดือดร้อนรำคาญเนื่องจากเสียงเกี่ยวข้องกับข้อใด เลือกข้อที่ผิด
1 : ระดับเสียง
2 : ระดับเสียงภูมิหลัง
3 : ปัจจัยทางสังคม
4 : ไม่เกี่ยวข้องทั้งข้อ 1. 2. และ 3.
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 260 : พนักงานขับรถได้รับการสั่นมาจากทางใด
1 : ทางเท้าและทางก้น
2 : ทางเท้าและทางหลัง
3 : ทางหลังและทางก้น
4 : ทางเท้า ทางก้น และทางหลัง
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 261 : ข้อใดไม่ใช่อาการที่เกิดจากการได้รับการสั่น เช่น การเจาะหินเป็นระยะเวลานาน (ใช้มือ)
1 : ปวดที่ข้อต่อ
2 : ปวดกล้ามเนื้อของแขนท่อนปลาย
3 : การควบคุมแขนท่อนปลายลดลง
4 : ความแข็งแรงของแขนท่อนปลายไม่ลดลง
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 262 : เสียงรบกวนขึ้นอยู่กับอะไร
1 : คุณภาพของเสียงเพียงอย่างเดียว
2 : ทัศนคติของคนที่มีต่อเสียงเพียงอย่างเดียว
3 : ทั้งข้อ 1. และ 2. ผสมกัน
4 : ไม่มีข้อใดถุก
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 263 : ผู้ควบคุมเครื่องจักรได้รับระดับเสียงคงที่ 95 dBA ใช้เกณฑ์ว่าถ้าระดับเสียง 90 dBA จะยอมให้ทำงานวันละ 8 ชั่วโมง แต่ถ้าระดับเสียงสูงขึ้น 5 dBA ต่อระยะเวลาที่ลดลงครึ่งหนึ่ง ในกรณีนี้จะยอมให้ทำงานได้นานเท่าไร
1 : 2 ชั่งโมง
2 : 3.5 ชั่งโมง
3 : 4 ชั่งโมง
4 : 4.5 ชั่งโมง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 264 : ใช้เกณฑ์ 90 dBA สำหรับคนงานซึ่งทำงานวันละ 8 ชั่วโมง โดยที่เขาทำงานที่บริเวณระดับเสียง 90 dBA อยู่ 2 ชั่วโมง และ 95 dBA อยู่ 6 ชั่วโมง ถ้าใช้เกณฑ์ว่าเมื่อระดับเสียงตลอดเวลาเป็น 95 dBA ก็ให้ทำงานเพียงครึ่งเดียวคือ 4 ชั่วโมง เพื่อความปลอดภัยในการทำงานเขาควรทำงานอยู่ทั้งหมดประมาณกี่ชั่วโมง
1 : 4 ชั่วโมง
2 : 5 ชั่วโมง
3 : 6 ชั่วโมง
4 : 7 ชั่วโมง
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 265 : การสั่นมีผลต่อมนุษย์อย่างไร
1 : สุขภาพเสื่อม
2 : สูญเสียความรู้สึก
3 : ถูกทั้ง ข้อ 1. และ 2.
4 : ไม่มีข้อถูก
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 266 : คนงานซึ่งสัมผัสเครื่องจักรที่กำลังเดินอยู่จะได้รับการสั่นเข้าสู่ร่างกายด้วยความถี่อย่างไร
1 : ความถี่ค่าเดียว
2 : ความถี่ค่าเดียวเฉพาะบริเวณที่สัมผัสกับเครื่อง
3 : ความถี่ทุกความถี่ระหว่าง 20-20,000 Hz
4 : ความถี่ทุกความถี่ของการสั่นที่เกิดจากเครื่องจักร
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 267 : เมื่อส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายมนุษย์ถูกกระตุ้นด้วยความถี่ธรรมชาติของร่างกายส่วนนั้น จะเกิดการสั่นพ้องอย่างไร
1 : ด้วยความถี่เดียว
2 : ด้วยช่วงความถี่
3 : ไม่เกิดการสั่นพ้อง เพราะร่างกายมีระบบการหน่วงต่อการสั่น
4 : ไม่มีข้อใดถูก
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 268 : เสียงชนิดใดถือว่าเป็นเสียงรบกวน
1 : เสียงหม้อแปลงไฟระเบิด
2 : เสียงหยุดรถกระทันหัน
3 : เสียงสุนัขเพื่อนบ้านเห่าหอนตลอดคืน
4 : เสียงกดแตรเพื่อเตือนคนข้ามถนน
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 269 : การที่มนุษย์สามารถอยู่ในสภาวะแวดล้อมที่มีมลพิษทางเสียงมากจนถึงขั้นอันตรายได้โดยไม่รู้ตัวมักจะเกิดจาก
1 : ความอดทนอดกลั้น
2 : ความจำเป็น
3 : ความชอบในเสียงเหล่านั้น
4 : ความเคยชิน
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 270 : การสูญเสียสมรรถภาพในการฟังมักจะเกิดขึ้นเมื่อหูได้รับเสียงที่
1 : ความถี่ต่ำมาก ดังมาก
2 : ความถี่สูงมาก ดังมาก
3 : ทุ้มมาก ได้ยินสม่ำเสมอ
4 : แหลมมาก เป็นช่วงสั้นๆ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 271 : อะไรคือสาเหตุสำคัญของมลพิษเสียง
1 : เสียงดังผิดเวลา
2 : เสียงดังตอนกลางวัน
3 : เสียงดังตอนหัวค่ำ
4 : เสียงดังวันหยุด
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 272 : ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบข้างเคียงจากมลพิษทางเสียง
1 : หูหนวก
2 : ความเครียด
3 : ปวดศรีษะ
4 : โรคความดันโลหิตสูง
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 273 : เสียงดังตั้งแต่ระดับใดที่อาจก่อให้เกิดการเลื่อนเทรชโฮลด์การได้ยินแบบชั่วคราว (temporary threshold shift) กับคนทั่วไปได้
1 : 20-30 dB(A)
2 : 30-40 dB(A)
3 : 40-60 dB(A)
4 : 60-80 dB(A)
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 274 : เสียงจากแหล่งกำเนิดเสียงสองแหล่งที่มีความดันเสียง 40 dB(A) ที่ระยะ 20 เมตร หากวางแหล่งกำเนิดเสียงทั้งสองไว้ชิดกันในที่โล่ง ความดันเสียงจะเป็นเท่าไรที่ระยะห่าง 10 เมตร จากแหล่งกำเนิดเสียงทั้งสอง
1 : 80 dB(A)
2 : 46 dB(A)
3 : 43 dB(A)
4 : 40 dB(A)
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 275 : ที่ตำแหน่งหนึ่ง มีคอนเดนเซอร์ที่เหมือนกัน 8 ชุด วางอยู่ด้วยกัน การวัดเสียงพบว่า คอนเดนเซอร์หนึ่งตัวทำให้เกิดเสียงดัง 55 dB(A) ที่ระยะห่าง 20 เมตร ถามว่าระดับเสียงจะเป็นเท่าไรที่ระยะ 20 เมตร หากเดินเครื่องคอนเดนเซอร์ทั้ง 8 ตัว พร้อมกัน
1 : 58 dB(A)
2 : 61 dB(A)
3 : 64 dB(A)
4 : 67 dB(A)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 276 : พัดลมขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 500 ม.ม. ทำให้เกิดเสียงดัง 60 dB(A) ที่ระยะห่าง 20 เมตร ที่ระยะห่าง 80 เมตร จะเกิดเสียงดังเท่าไรจากพัดลมตัวนี้
1 : 55 dB(A)
2 : 48 dB(A)
3 : 45 dB(A)
4 : 30 dB(A)
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 277 : ระดับเสียงดังจากเครื่องจักรสองชิ้นเป็นดังนี้ เดินเครื่องพร้อมกันสองชิ้นเสียงดัง 103 dB(A) เดินเครื่องหนึ่งชิ้นเสียงดัง 100 dB(A) ระดับเสียงจากเครื่องจักรชิ้นที่สองเท่ากับเท่าไร
1 : 90 dB(A)
2 : 95 dB(A)
3 : 100 dB(A)
4 : 103 dB(A)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 278 : ปัจจัยใดที่ทำให้ระดับเสียงสะท้อน (reverberant) เพิ่มขึ้นในพื้นที่กว้าง
1 : การดูดซึมเสียงลดลง
2 : ปริมาตรห้องลดลง
3 : อุณหภูมิลดลง
4 : เสียงดังขึ้น
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 279 : หากเรารู้สึกว่าเสียงดังเป็นสองเท่า ปกติมักเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของระดับเสียงเท่าไร
1 : +3 dB
2 : +5 dB
3 : +6 dB
4 : +10 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 280 : หากปริมาณการจราจรบนถนนใหญ่สายหนึ่งเพิ่มขึ้นเป็นสองเท่า ผลกระทบโดยเฉลี่ยของระดับเสียงรบกวนต่อพื้นที่ชุมชนใกล้เคียงจะเป็นเท่าไร
1 : 0 dB
2 : 3 dB
3 : 6 dB
4 : 10 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 281 : ในการประเมินเสียงสะท้อนภายในห้องประชุม ระยะเวลาหน่วงเท่าไรของเสียงสะท้อนเมื่อเทียบกับเสียงจริง พบว่าช่วยให้การฟังชัดเจนขึ้น
1 : น้อยกว่า 50/1000 วินาที
2 : น้อยกว่า 100/1000 วินาที
3 : น้อยกว่า 200/1000 วินาที
4 : น้อยกว่า 1 วินาที
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 282 : ระดับเสียงสูงสุดที่มนุษย์สามารถรับฟังโดยไม่เกิดการสูญเสียการได้ยินอย่างรุนแรง ประมาณเท่ากับ
1 : 100 dB(A)
2 : 120 dB(A)
3 : 140 dB(A)
4 : 160 dB(A)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 283 : เวลากังวาน (Reverberation Time) ข้อใดเหมาะกับห้อง Music studio
1 : 1 นาที
2 : 10 นาที
3 : 5 วินาที
4 : 1 วินาที
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 284 : ถ้าในห้องทำงานมีเสียงมาจาก 2 แหล่ง คือเสียงจากสิ่งแวดล้อมและเสียงจากเครื่องปรับอากาศ เสียงของสิ่งแวดล้อมจะไม่มีผลต่อระดับเสียงรวมก็ต่อเมื่อ
1 : ระดับเสียงของสิ่งแวดล้อม เท่ากับ เสียงเครื่องปรับอากาศ
2 : ระดับเสียงของสิ่งแวดล้อม น้อยกว่า ระดับเสียงเครื่องปรับอากาศ
3 : ระดับเสียงของสิ่งแวดล้อม น้อยกว่า ระดับเสียงเครื่องปรับอากาศ ตั้งแต่ 3 dB ขึ้นไป
4 : ระดับเสียงของสิ่งแวดล้อม น้อยกว่า ระดับเสียงเครื่องปรับอากาศ ตั้งแต่ 10 dB ขึ้นไป
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 285 : ค่า Directivity Q และ Directivity Index DI ของแหล่งกำเนิดเสียงที่มุมของผนัง 3 ด้านมีค่า
1 : Q = 2, DI = 3 dB
2 : Q = 4, DI = 6 dB
3 : Q = 8, DI = 9 dB
4 : Q = 12, DI = 12 dB   
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 286 : ค่า Directivity Q และ Directivity Index DI ของแหล่งกำเนิดเสียงที่มุมของผนัง 2 ด้านมีค่า
1 : Q = 2, DI = 3 dB
2 : Q = 4, DI = 6 dB
3 : Q = 8, DI = 9 dB
4 : Q = 12, DI = 12 dB   
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 287 : ทำไมถึงใช้ Weighting Scale “A” สำหรับเสียงที่เกี่ยวข้องกับหูมนุษย์
1 : เพราะเป็น Weighting Scale ที่มีช่วงของระดับเสียงและความถี่ที่ใกล้เคียงกับลักษณะการรับเสียงของหูมนุษย์ที่สุด
2 : เพราะเป็น Weighting Scale ใช้กันทั่วโลก
3 : เพราะเป็น Weighting Scale ไม่เหมาะกับหูของสัตว์
4 : เพราะเป็น Weighting Scale มนุษย์ชอบฟังมากที่สุด
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 288 : การลดระดับของเสียงจาก Noise Propagation from Point Source เป็นอย่างไร
1 : ระดับเสียงเพิ่มขึ้น 6 dB เมื่อระยะห่างจาก Noise Source ลดลง 3 เท่า
2 : ระดับเสียงลดลง 6 dB เมื่อระยะห่างจาก Noise Source เพิ่มขึ้น 2 เท่า
3 : ระดับเสียงลดลง 3 dB เมื่อระยะห่างจาก Noise Source เพิ่มขึ้น 2 เท่า
4 : ระดับเสียงลดลง 6 dB เมื่อระยะห่างจาก Noise Source เพิ่มขึ้น 10 เท่า
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 289 : การลดระดับของเสียงจาก Noise Propagation form Line Source เป็นอย่างไร
1 : ระดับเสียงลดลง 3 dB เมื่อระยะห่างจาก Noise Source เพิ่มขึ้น 2 เท่า
2 : ระดับเสียงลดลง 6 dB เมื่อระยะห่างจาก Noise Source เพิ่มขึ้น 2 เท่า
3 : ระดับเสียงลดลง 10 dB เมื่อระยะห่างจาก Noise Source เพิ่มขึ้น 10 เท่า
4 : ระดับเสียงเพิ่มขึ้น 3 dB เมื่อระยะห่างจาก Noise Source ลดลง 3 เท่า
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 290 : การป้องกันเสียงจาก Highway Traffic Noise ทำได้กี่วิธี
1 : การป้องกันเสียงทำได้ที่ตัวบ้านของผู้รับเสียง
2 : การป้องกันเสียงทำได้ที่การสร้างกำแพงก้นเสียง
3 : การป้องกันเสียงทำได้ที่ Noise Source, Noise Path, และ Noise Receiver
4 : การป้องกันเสียงทำได้ที่ตัวรถยนต์และถนน
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 291 : ทำไมการป้องกันเสียงรบกวนจาก Highway Noise ที่ Receiver จึงไม่เป็นที่นิยม
1 : เพราะจุดรับเสียงเป็นบ้านเรือนผู้คนที่พอใจกับเสียงจากการจราจร
2 : เพราะจุดรับเสียงอยู่ใกล้กับถนนมากเกินไป
3 : เพราะจุดรับเสียงอยู่ไกลจากถนนมากเกินไป
4 : เพราะว่าจุดรับเสียงอยู่กระจายตัวกันออกไปทำให้การป้องกันทำได้ลำบาก และเสียค่าใช้จ่ายมาก
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 292 : ลักษณะของเสียงจาก Uninterrupted Flow Traffic คือ
1 : เป็นเสียงที่เกิดขึ้นจากการจราจรในสภาพที่เคลื่อนตัวต่อเนื่อง
2 : เป็นเสียงที่เกิดขึ้นจากการจราจรในสภาพที่ไม่ใช่ Free-Flow Traffic
3 : เป็นเสียงที่เกิดขึ้นจากการจราจรในสภาพที่เคลื่อนตัวไม่ต่อเนื่อง
4 : เป็นเสียงที่เกิดขึ้นจากการจราจรในเขตตัวเมืองชั้นใน
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 293 : ลักษณะของเสียงจาก Interrupted Flow Traffic คือ
1 : เป็นเสียงที่เกิดจากการจราจรในสภาพที่ไม่ใช่ Stop-and-Go Traffic
2 : เป็นเสียงที่เกิดจากการจราจรในสภาพที่เคลื่อนตัวต่อเนื่อง
3 : เป็นเสียงที่เกิดจากการจราจรในสภาพที่เคลื่อนตัวไม่ต่อเนื่อง
4 : เป็นเสียงที่เกิดจากการจราจรในพื้นที่นอกเมือง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 294 : ทำไมจึงต้องมีการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเสียงจากทางหลวง (Highway Traffic Noise Model)
1 : เนื่องจากทำให้สามารถวิเคราะห์และทำนายเสียงจราจรจากทางหลวงที่จะก่อสร้างขึ้นใหม่ได้ล่วงหน้า เพื่อป้องกันเสียงที่จะเกิดขึ้น
2 : เนื่องจากทำให้เกิดความทันสมัยในการออกแบบทางหลวงได้เช่นเดียวกับอารยะประเทศ
3 : เนื่องจากการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเสียงจากทางหลวงจะทำให้ชาวบ้านไม่ประท้วงร้องเรียนในภายหลัง
4 : เนื่องจากการใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเสียงจากทางหลวงจะทำให้ของบประมาณในการก่อสร้างได้ง่าย
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 295 : ทำไมจึงต้องมีแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของเสียงทางหลวงสำหรับประเทศไทย
1 : เพราะทำให้ประเทศไทยมีความทันสมัยเสมอกับประเทศอื่นๆทั่วโลก
2 : เพราะวิศวกรไทยสามารใช้ในการออกแบบทางหลวงที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้ดี
3 : เพราะสร้างขึ้นจากลักษณะเฉพาะตัวของการจราจรและทางหลวงในประเทศ ทำให้มีความแม่นยำในการวิเคราะห์ และทำนายเสียงจราจร
4 : เพราะประชาชนตามแนวทางหลวงจะต้อนรับทางหลวงสายใหม่ด้วยความยินดี
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 296 : แบบจำลองเสียงทางหลวงจากต่างประเทศมีจุดอ่อนอะไรเมื่อนำมาใช้กับประเทศไทย
1 : การออกแบบและวางแผนทางหลวงของประเทศไทไม่ต้องสนใจผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
2 : เนื่องจากสร้างจากลักษณะการจราจรที่แตกต่างทำให้เมื่อนำมาใช้ในประเทศไทยแล้ว มีความคลาดเคลื่อนของการวิเคราะห์และทำนายเสียง
3 : มีราคาแพงทำให้หน่วยงานต่างๆ จัดซื้อมาใช้ลำบาก
4 : ไม่เป็นที่นิยมในการใช้ในประเทศไทย
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 297 : Threshold of Hearing คืออะไร และมีค่าเท่าไร
1 : ระดับของ Sound Pressure ที่น้อยที่สุดที่มนุษย์หนุ่มสาวสามารถได้ยินเสียงได้มีค่า = 10 µPa
2 : ระดับของ Sound Pressure ที่น้อยที่สุดที่มนุษย์หนุ่มสาวสามารถได้ยินเสียงได้มีค่า = 20 µPa
3 : ระดับของ Sound Pressure ที่มากที่สุดที่มนุษย์หนุ่มสาวสามารถได้ยินเสียงได้มีค่า = 20 µPa
4 : ระดับของ Sound Pressure ที่มากที่สุดที่มนุษย์หนุ่มสาวสามารถได้ยินเสียงได้มีค่า = 30 µPa
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 298 : การคำนวณระดับเสียงที่ระยะห่างจากเครื่องบินในอากาศใช้สูตร
1 :  SPL = PWL – 20 log r – 11 dB
2 :  SPL = PWL – 10 log r – 11 dB
3 :  SPL = PWL – 10 log r – 8 dB
4 :  SPL = PWL – 10 log r – 5 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 299 : การคำนวณระดับเสียงที่ระยะห่างจากโรงงานอุตสาหกรรมใช้สูตร
1 : SPL = PWL – 10 log r – 5 dB
2 : SPL = PWL – 10 log r – 8 dB
3 : SPL = PWL – 10 log r – 11 dB
4 : SPL = PWL – 20 log r – 8 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 300 : การคำนวณระดับเสียงที่ระยะห่างจากถนนที่มีรถหนาแน่นแบบ Free – Flow traffic ใช้สูตร
1 : SPL = PWL – 20 log r – 11 dB
2 : SPL = PWL – 10 log r – 11 dB
3 : SPL = PWL – 10 log r – 8 dB
4 : SPL = PWL – 10 log r – 5 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 3

ออฟไลน์ อู๊ด โคจร

  • ลงทะเบียน HL
  • ขี้โม้ระดับสุดยอด
  • *
  • กระทู้: 6842
  • You'll never drunk alone
Re: Sound and vibration Control เผื่อท่านที่อยากรู้ครับ
« ตอบกลับ #3 เมื่อ: วันที่ 29 เมษายน 2015, 14:22:58 น. »
เนื้อหาวิชา : 658 : 4. Laws and criteria for control of noise and vibration
ข้อที่ 301 : ข้อใดคือแหล่งกำเนิดเสียงเคลื่อนที่
1 : โรงงานอุตสาหกรรม
2 : เสียงจากเครื่องบิน
3 : เสียงจากการก่อสร้าง
4 : เสียงจากซ่อมแซมถนน
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 302 : ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 15 (2540) กำหนดมาตรฐานเสียง โดยทั่วไปไว้คือ
1 : ค่าระดับเสียงสูงสุดไม่เกิน 100 dB ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชม. ไม่เกิน 70 dB(A)
2 : ค่าระดับเสียงสูงสุดไม่เกิน 115 dB ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชม. ไม่เกิน 70 dB(A)
3 : ค่าระดับเสียงสูงสุดไม่เกิน 100 dB ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชม. ไม่เกิน 80 dB(A)
4 : ค่าระดับเสียงสูงสุดไม่เกิน 115 dB ค่าระดับเสียงเฉลี่ย 24 ชม. ไม่เกิน 80 dB(A)
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 303 : ข้อใดคือข้อคำนึงในการเลือกใช้วัสดุดูดซับเสียง
1 : ความสามารถในการดูดซับเสียงของวัสดุ
2 : ความสวยงามเหมาะสม
3 : ความสามารถในการทนไฟได้
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 304 : ข้อใดไม่ใช่การควบคุมเสียงแบบผสมผสาน
1 : การควบคุมการจราจร ทั้งปริมาณ ความเร็วและจำกัดเวลาในการเดินรถ
2 : การปลูกต้นไม้โดยรอบแหล่งกำเนิดเสียงรบกวน
3 : การสร้างกำแพงกั้นเสียงของระบบคมนาคม
4 : การปรับเปลี่ยนตำแหน่งที่ตั้งของแหล่งกำเนิดเสียงและผู้รับให้มีระยะห่างมากขึ้น
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 305 : ประกาศกระทรวงมหาดไทยเรื่องความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับสภาวะแวดล้อม กำหนดให้ลูกจ้างคนใดคนหนึ่งทำงาน ดังนี้
1 : ไม่เกินวันละ 7 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียงที่ได้รับติดต่อกันได้ไม่เกิน 90 dB(A)
2 : เกินวันละ 7 ชั่วโมงแต่ไม่เกิน 8 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียงที่ได้รับติดต่อกันได้ไม่เกิน 85 dB(A)
3 : เกินวันละ 8 ชั่วโมง ต้องมีระดับเสียงที่ได้รับติดต่อกันได้ไม่เกิน 80 dB(A)
4 : ให้ลูกจ้างทำงานในที่ที่มีเสียงดังเกินกว่า 120 dB(A) มิได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 306 : ประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ ฉบับที่ 17 เรื่อง ค่าระดับเสียงรบกวน กำหนดค่าระดับเสียงรบกวน ไว้ที่ความต่างเท่าไร
1 : 5 dB
2 : 10 dB
3 : 15 dB
4 : 20 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 307 : ข้อใดไม่ใช่ Noise Rating Scale
1 : LAeq
2 : LDN
3 : TL
4 : SIL
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 308 : การควบคุมเสียงรบกวนด้วยวิธีใดที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด
1 : การควบคุมเสียงที่แหล่งกำเนิด
2 : การควบคุมที่ระยะทางระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงและผู้รับ
3 : การควบคุมที่ตัวผู้รับ
4 : การควบคุมแบบผสมผสาน
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 309 : Sound Lock หมายถึง
1 : การสร้างกำแพงกั้นเสียงในระบบขนส่งคมนาคม
2 : การกำหนดพื้นที่ว่างสำหรับปิดกั้นเสียงรบกวนมิให้รบกวนพื้นที่อื่นๆ
3 : การควบคุมเสียงรบกวนแบบผสมผสาน
4 : การลดพลังงานที่ทำให้เกิดการสั่นสะเทือนและส่งผลให้เกิดเสียงรบกวน
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 310 : Inertia Block ใช้เพื่อวัตถุประสงค์อะไร
1 : ต้องการลดขนาดของการสั่นสะเทือน
2 : ต้องการทำให้จุด Center of gravity ของเครื่องจักรต่ำลง
3 : ต้องการลดผลจากการกระจายน้ำหนักของเครื่องจักรที่ไม่สม่ำเสมอ
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 311 : ในการลดการส่งผ่านของการสั่นสะเทือน (Vibration Transfer) ข้อใดบอกถึงการลดการส่งผ่านได้ดี
1 : ค่า Transmissibility สูง
2 : ค่า Isolation Efficiency สูง
3 : ค่า Isolation Efficiency ต่ำ
4 : ถูกทั้งข้อ 1 และ 2
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 312 : ในกรณีของห้องเครื่องทำความเย็นขนาดใหญ่อยู่ที่ชั้นบน การป้องกันการสั่นสะเทือนของห้องเครื่องไปยังชั้นที่อยู่ใต้ถัดลงมา วิธีใดดีที่สุด
1 : ติดตั้งสปริงที่ฐานเครื่องจักรทุกตัว
2 : ติดตั้ง Inertia Blocks ที่ฐานเครื่องจักร
3 : ติดตั้ง Floating Floor
4 : ติดตั้ง Air Springs ที่ฐานเครื่องจักร
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 313 : ข้อใดไม่ใช่ Room Acoustical Defects
1 : Sound Shadow
2 : Sound Reflector
3 : Echo
4 : Sound Concentration
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 314 : ข้อใดคือการประยุกต์ใช้ Masking Noise ในการควบคุมเสียงรบกวน
1 : การสร้าง Discontinuous Construction
2 : การเปิดเสียงเพลงบรรเลงเบาๆ ในร้านอาหารหรือห้างสรรพสินค้า
3 : การใช้แนวต้นไม้ในการสร้างกำแพงกั้นเสียงรวบกวน
4 : การแยกส่วนที่มีเสียงดังรบกวนออกจากพื้นที่ที่ต้องการความสงบ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 315 : ข้อใดไม่ใช่วิธีการควบคุมเสียงรบกวนในระดับเมือง
1 : การสร้างแนวกำแพงกั้นเสียงตามถนนขนาดใหญ่
2 : การจัดวางผังเมืองโดยการแบ่งโซนตามการใช้งาน เช่น Industrial Zone
3 : การกำหนดแผนและระบบการตรวจวัดระดับเสียงชุมชน
4 : การกำหนดเส้นทางจราจรหลักให้สามารถเข้าสู่ตัวเมืองได้โดยตรง
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 316 : พื้นที่ส่วนใดของโรงงานอุตสาหกรรมต่อไปนี้ที่ต้องการป้องกันเสียงรบกวนมากที่สุด
1 : ส่วนเครื่องกำเนิดกำลังไฟฟ้า
2 : ส่วนการผลิตที่มีเครื่องจักรเข้ามาเกี่ยวข้อง
3 : พื้นที่ส่วนสำนักงาน
4 : พื้นที่ส่วนรับประทานอาหารของพนักงาน
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 317 : ข้อใดไม่ถูกต้อง
1 : ประกาศกระทรวงมหาดไทย กำหนดให้อุปกรณ์ลดเสียงส่วนบุคคลประเภท Ear Plug จะต้องสามารถลดระดับเสียงได้ลงไม่น้อยกว่า 15 dB
2 : ให้นายจ้างจัดให้มีข้อความแจ้งระดับเสียงติดไว้ให้เห็นโดยชัดเจนในบริเวณที่ระดับเสียงตั้งแต่ 85 dB(A) ขึ้นไป
3 : รถยนต์ที่ใช้ในทางขณะที่เดินเครื่องอยู่กับที่ จะต้องมีระดับเสียงไม่เกิน 85 dB(A) เมื่อตรวจวัดในระยะห่างจากรถยนต์ 7.5 เมตร
4 : รถยนต์ที่ใช้ในทางขณะที่เดินเครื่องอยู่กับที่ จะต้องมีระดับเสียงไม่เกิน 100 dB(A) เมื่อตรวจวัดในระยะห่างจากรถยนต์ 0.5 เมตร
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 318 : ข้อใดเป็นหลักการควบคุมเสียงที่แหล่งกำเนิด
1 : ปรับเปลี่ยนตำแหน่งที่ตั้งของเครื่องจักรให้มีระยะห่างจากผู้รับมากขึ้น
2 : จัดทำโครงสร้างทีช่วยลดเสียงรบกวนระหว่างแหล่งกำเนิดและผู้รับ
3 : การซ่อมบำรุงรักษาเครื่องจักร โดยการหยอดน้ำมัน ขันน๊อตส่วนที่หลวมให้แน่น
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 319 : องค์ประกอบทางสังคมข้อใดมีอิทธิพลต่อปัญหามลพิษทางเสียงมากที่สุด
1 : แนวโน้มการพัฒนาไปสู่สังคมเมือง
2 : การเพิกเฉยต่อปัญหาเสียงรบกวนของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
3 : ความสามารถในการปรับตัวเข้ากับเสียงรบกวนของมนุษย์
4 : กฎหมายและบทลงโทษการทำความผิดเกี่ยวกับเรื่องเสียงยังมีน้อยเกินไป
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 320 : การตรวจวัดเสียงรบกวนตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 29 (พ.ศ.2550) เรื่อง ค่าระดับเสียงรบกวน ได้จาก ค่าระดับการรบกวน = ระดับเสียงขณะมีการรบกวน – ระดับเสียงพื้นฐานโดยหลักการการวัด “ระดับเสียงขณะมีการรบกวน” จะเป็นดัชนีการวัดในข้อใด
1 : Leq (1hr)
2 : Leq (24 hr)
3 : Leq (8 hr)
4 : Lmax
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 321 : การตรวจวัดเสียงรบกวนตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 29 (พ.ศ.2550) เรื่อง ค่าระดับเสียงรบกวน ได้จาก ค่าระดับการรบกวน = ระดับเสียงขณะมีการรบกวน – ระดับเสียงพื้นฐานโดยหลักการการวัด “ระดับเสียงพื้นฐาน” จะเป็นดัชนีการวัดในข้อใด
1 : L5
2 : L10
3 : L90
4 : L95
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 322 : การตรวจวัดเสียงรบกวนตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อมแห่งชาติฉบับที่ 29 (พ.ศ.2550) เรื่อง ค่าระดับเสียงรบกวน ได้จาก ค่าระดับการรบกวน = ระดับเสียงขณะมีการรบกวน – ระดับเสียงพื้นฐานโดยหลักการการวัด “ระดับเสียงพื้นฐาน” จะเป็นการวัดในช่วงเวลาอย่างน้อยเท่าใด
1 : 1 นาที
2 : 5 นาที
3 : 1 ชั่วโมง
4 : 24 ชั่วโมง
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 323 : ข้อใดเป็นเสียงทั้งหมดในสภาพแวดล้อมนั้น ทั้งแหล่งกำเนิดที่อยู่ใกล้ หรือไกลออกไป
1 : Ambient Noise
2 : Fluctuated Noise
3 : Masking Noise
4 : Steady–State Noise
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 324 : ข้อใดเป็นเสียงที่ไม่รวมถึงแหล่งกำเนิดเสียงที่เราสนใจ
1 : Masking Noise
2 : Fluctuated Noise
3 : Background Noise
4 : Steady – State Noise
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 325 : เสียงที่ไม่สามารถแยกแยะได้ว่าแหล่งกำเนิดคืออะไรมักจะเรียกว่า
1 : Environmental Noise
2 : Basis Noise
3 : Normalized Noise
4 : Existing Noise
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 326 : โดยหลักการแล้วมีวิธีการที่จะลดเสียงที่ไม่ต้องการ จะถือว่าการลดผลกระทบ ณ ตำแหน่งใดเป็นวิธีการชั่วคราวขณะที่มาตรการอื่นยังไม่พร้อม
1 : ลดที่แหล่งกำเนิดเสียง (source)
2 : เปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงการเดินทางของเสียง (path) มายังผู้รับ
3 : การใช้กำแพงกั้นเสียง
4 : ให้อุปกรณ์ป้องกันแก่ผู้รับ (receiver)
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 327 : เกณฑ์ในการป้องกันผู้ปฏิบัติงานหรือคนงานภายในโรงงานนั้นในเรื่องระดับเสียงคือ
1 : ไม่ให้เกิดการสูญเสียการได้ยินอย่างชั่วคราว
2 : ไม่ให้เกิดการสูญเสียการได้ยินอย่างถาวร
3 : ไม่ให้เกิดการสูญเสียการได้ยินอย่างเฉียบพลัน
4 : ไม่ให้เกิดการเดือดร้อนรำคาญ
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 328 : ประกาศกระทรวงมหาดไทย (พ.ศ. 2519) (ตามความในข้อ 217 แห่งประกาศคณะปฏิวัติฉบับที่ 103 พ.ศ. 2515) กำหนดให้สถานที่ประกอบการที่มีลูกจ้าง จะให้ลูกจ้างทำงานในที่ที่มีระดับเสียงเกินกว่าเท่าใดไม่ได้
1 : 110 dB(A)
2 : 120 dB(A)
3 : 130 dB(A)
4 : 140 dB(A)
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 329 : การป้องกันการสั่นสะเทือนโดยทั่วไปจะใช้ในความมุ่งหมายใด
1 : ป้องกันอุปกรณ์ที่มีความไวต่อการสั่นสะเทือนที่ส่งผ่านมาตามโครงสร้างซึ่งอุปกรณ์นั้นๆติดอยูู่
2 : เพื่อลดความสั่นสะเทือนซึ่งเกิดในโครงสร้างโดยเครื่องจักรที่ติดตั้งอยู่
3 : ทั้งข้อ 1. และข้อ 2.
4 : ไม่มีข้อถูกต้อง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 330 : การควบคุมเสียงรบกวนควรพิจาณาการควบคุมในข้อใดก่อน
1 : แหล่งกำเนิดเสียง
2 : ทางเดินของเสียง
3 : ผู้รับเสียง
4 : ข้อใดก่อนก็ได้
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 331 : วิธีลดการสั่น ข้อใดถูกต้อง
1 : ลดการสั่นพ้อง
2 : ลดความแข็งตึง
3 : ลดการหน่วงให้กับการสั่น
4 : ไม่ถูกทั้งข้อ 1, 2 และ 3
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 332 : เสียงร้องเพลงคาราโอเกะและเสียงดนตรีดังๆ ไม่ควรเกิดขึ้นในช่วงเวลาใดของวันหยุด
1 : 10.00-13.00 น.
2 : 18.00-22.00 น.
3 : 19.00-23.00 น.
4 : 23.00-01.00 น.
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 333 : ท่อไอเสียรถจักรยานยนต์ที่ติดตั้งใหม่จะมีเสียงดังเกินเท่าใดไม่ได้
1 : 75 dB(A)
2 : 85 dB(A)
3 : 95 dB(A)
4 : 105 dB(A)
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 334 : คนงานในโรงงานอุตสาหกรรมสัมผัสกับระดับเสียงดังต่อเนื่อง 93 dB(A) ในเวลากะเป็นเวลา 8 ชั่วโมง อ้างอิงตามกฎหมายปัจจุบัน คนงานได้สัมผัสเสียงดังเป็นเท่าไรของค่ามาตรฐาน
1 : 100%
2 : 200%
3 : 50%
4 : 0%
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 335 : ตามกฎหมายปัจจุบัน ระดับเสียงดังสูงสุด ที่ยอมให้คนงานในโรงงานสัมผัสได้ เท่ากับเท่าไร
1 : 90 dB(A)
2 : 95 dB(A)
3 : 120 dB(A)
4 : 140 dB(A)
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 336 : ทำไมจึงต้องมีการกำหนดค่ามาตรฐานของเสียงรบกวนจาก Highway Noise ที่ 1 Hour Period
1 : เนื่องจากเสียงรบกวนทางหลวงจะเกิดขึ้นมากที่สุดในช่วงเวลากลางวัน
2 : เนื่องจากเสียงรบกวนทางหลวงจะเกิดขึ้นมากที่สุดในช่วงเวลาของ Peak Hour Period ของการจราจร
3 : เนื่องจากเสียงรบกวนทางหลวงจะเกิดขึ้นน้อยที่สุดในช่วงเวลาของ Peak Hour Period ของการจราจร
4 : เนื่องจากเสียงรบกวนทางหลวงจะเกิดขึ้นน้อยที่สุดในช่วงเวลาของ Off Peak Period ของการจราจร
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 337 : จุดอ่อนของการใช้ค่ามาตรฐานเสียงรบกวนของ Highway Noise ในช่วง 24 Hour Period คืออะไร
1 : คือการที่สามารถใช้เป็นตัวแทนของเสียงจราจรได้ดีที่สุด
2 : คือการที่สามารถปกป้องประชาชนจากเสียงรบกวนของจราจรจากทางหลวงได้เต็มที่
3 : คือการเป็นมาตรฐานเสียงจากทางหลวงที่เหมือนกับประเทศอื่นๆ ทั่วโลก
4 : คือการนำค่าระดับเสียงในช่วงเวลากลางคืนที่มีปริมาณจราจรน้อยมากมาถัวเฉลี่ยด้วย
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 338 : ห้องมีเสียงก้องมาก มีคุณสมบัติข้อใด
1 : มี Reverberation Time น้อย
2 : มี Reverberation Time มาก
3 : มีวัสดุที่มีการดูดกลืนเสียงมาก
4 : ผนังห้องมีค่า Transmission Loss มาก
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
เนื้อหาวิชา : 659 : 5. Use of acoustic materials and barriers
ข้อที่ 339 : ข้อใดคือพฤติกรรมของเสียงในสภาวะแวดล้อมปิด ประเภทเสียงแตกกระจายเมื่อกระทบพื้นผิวที่ไม่เรียบ
1 : Diffracted Sound
2 : Diffused Sound
3 : Dissipated Sound
4 : Conducted Sound
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 340 : ข้อใดที่ไม่มีผลต่อพฤติกรรมการดูดซับเสียงในสภาวะแวดล้อมปิด
1 : องค์ประกอบภายในสภาวะแวดล้อมปิด
2 : อากาศภายในสภาวะแวดล้อมปิด
3 : อากาศภายนอกสภาวะแวดล้อมปิด
4 : พื้นผิวที่เสียงตกกระทบในสภาวะแวดล้อมปิด
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 341 : หากต้องการออกแบบให้เสียงที่มาตกกระทบเกิดการรวมเสียงขึ้น เราควรเลือกใช้พื้นผิวประเภทใด
1 : Concave Surface
2 : Convex Surface
3 : Flat Surface
4 : Irregular Surface
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 342 : การป้องกันการสั่นสะเทือนแบบ Passive Isolation เป็นการป้องกันความสั่นสะเทือน
1 : จากแหล่งต้นกำเนิดก่อนที่จะแพร่ไปสู่แหล่งอื่นๆ
2 : จากแหล่งอื่นๆ ไม่ให้เข้าสู่บริเวณที่เราต้องการป้องกัน
3 : ถูกทั้ง ข้อ 1. และข้อ 2.
4 : ไม่มีข้อใดถูกต้อง
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 343 : ข้อใดคือ Porous Material
1 : กระเบื้องยาง
2 : ไม้อัด
3 : พรมปูพื้น
4 : อิฐแก้ว
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 344 : วัสดุในข้อใดต่อไปนี้มีคุณสมบัติเป็น Sound Insulator ดีที่สุด
1 : ผนังไม้อัด
2 : ผนังไม้อัดสองชั้น
3 : ผนังกระจก
4 : ผนังก่ออิฐ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 345 : ค่าสัมประสิทธิ์ในการดูดซับเสียง (Sound Absorption Coefficient) ของวัสดุต่างๆ จะมีค่าอยู่ระหว่าง
1 : 0-0.5
2 : 0-1
3 : 0-10
4 : ไม่มีข้อใดถูกต้อง
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 346 : Space Absorber เป็นวัสดุดูดซับเสียงที่มีการใช้งานดังนี้
1 : ใช้ประกอบภายในผนังกั้นเสียง
2 : ใช้แขวนหรือวางไว้ในห้องที่ต้องการดูดซับเสียง
3 : ใช้ฉีดหรือพ่นตามผนังหรือฝ้าเพดานเพื่อเพิ่มความสามารถในการดูดซับเสียง
4 : ใช้ปูพื้นห้องเพื่อลดเสียงรบกวน
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 347 : โครงสร้างของอาคารส่วนใดที่เรียกว่า Discontinuous Construction
1 : Foundation
2 : Floating Floor
3 : Roof Floor
4 : Mezzanine Floor
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 348 : เสียงเดินทางกระทบกับแผ่นกั้น (Barrier) ที่อยู่กลางสนาม จะไม่เกิดข้อใด
1 : Shadow
2 : Diffracted
3 : Reflected
4 : Diffused
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 349 : การลดเสียงโดยใช้แผ่นกั้น (Barrier) ไม่ขึ้นอยู่กับข้อใด
1 : ระดับเสียงของแหล่งกำเนิดเสียง (Noise Source)
2 : ความสูงของแผ่นกั้น
3 : ระยะทางระหว่างแหล่งกำเนิดเสียงกับผู้ฟัง
4 : ความถี่ของเสียง
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 350 : ข้อใดเป็นตัวบอกคุณสมบัติในการกั้นเสียงของวัสดุ (sound insulation)
1 : Transmission Loss (TL)
2 : Sound Reduction Index (SRI)
3 : Sound Transmission Class (STC)
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 351 : แผ่นกั้นเสียงในข้อใดกั้นเสียงได้น้อยที่สุด ถ้าทุกชนิดหนาเท่ากัน
1 : แผ่นคอนกรีต
2 : แผ่นยิบซั่ม
3 : แผ่นไม้อัด
4 : แผ่นเหล็ก
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 352 : NRC (Noise Reduction Coefficient) เป็นค่าที่บอกคุณสมบัติใดของวัสดุ
1 : คุณสมบัติในการกั้นเสียง
2 : คุณสมบัติในการดูดกลืนเสียง
3 : คุณสมบัติในการส่งผ่านเสียง
4 : คุณสมบัติในการลดเสียง
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 353 : วัสดุประเภทใดดูดกลืน (absorb) เสียงความถี่สูงได้ดี
1 : วัสดุที่มีมวลมาก ๆ
2 : วัสดุที่มีเนื้อเป็นรูพรุน
3 : วัสดุที่เป็นแผ่นบาง ๆ
4 : วัสดุที่มีผิวขรุขระ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 354 : วัสดุประเภทใดดูดกลืน (absorb) เสียงความถี่ต่ำได้ดี
1 : วัสดุที่มีมวลมาก ๆ
2 : วัสดุที่มีเนื้อเป็นรูพรุน
3 : วัสดุที่เป็นแผ่นบาง ๆ
4 : วัสดุที่มีผิวขรุขระ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 355 : วัสดุประเภทใดใช้กั้นเสียง (sound insulation) ได้ดีที่สุด
1 : วัสดุที่มีมวลมาก ๆ
2 : วัสดุที่มีเนื้อเป็นรูพรุน
3 : วัสดุที่เป็นแผ่นบาง ๆ
4 : วัสดุที่มีผิวขรุขระ
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 356 : พลังงานเสียงตกกระทบ 100 % สะท้อนกลับ 5% ทะลุผ่านผนัง 20% แผ่นวัสดุในรูปกั้นเสียง (noise reduction) ได้กี่ dB

1 : 10 log 5/100
2 : 10 log 20/100
3 : 10 log 75/100
4 : 10 log 95/100
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 357 : ผนังด้านข้างของห้องเรียนบุด้วยวัสดุดูดซับเสียงที่มีค่า Sound Absorption Coefficient เท่ากับ 0.8 หมายความว่าผนังในห้องดังกล่าวสามารถสะท้อนเสียงได้ร้อยละเท่าไรของเสียงทั้งหมดที่มาตกกระทบ
1 : ร้อยละ 0.2
2 : ร้อยละ 0.8
3 : ร้อยละ 20
4 : ร้อยละ 80
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 358 : ห้องต้นกำเนิดเสียงแห่งหนึ่งส่งเสียงที่มีความดันของเสียงเท่ากับ 85 dB ผ่านไปยังห้องที่อยู่ติดกันซึ่งสามารถวัดเสียงที่ส่งผ่านมาได้ 40 dB หมายความว่าฉากกั้นระหว่างห้องทั้งสองดังกล่าวมีค่าTransmission Loss (TL) เท่ากับ
1 : 40 dB
2 : 45 dB
3 : 2.125
4 : 0.471
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 359 : ข้อใดเป็นการออกแบบทางสถาปัตยกรรมที่ช่วยแก้ไขปัญหาเสียงรบกวน
1 : การออกแบบให้ห้องนอนอยู่ติดกับห้องครัว
2 : การออกแบบให้ห้องนั่งเล่นอยู่ติดกับห้องนอน
3 : การออกแบบให้ห้องครัวอยู่ติดกับห้องทำงาน
4 : การออกแบบให้ห้องนอนอยู่ติดกับห้องทำงาน
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 360 : Sound Transmission Loss (STL) แสดงถึงความสามารถของวัสดุที่ใช้กั้นห้องที่ต้องการแยกกิจกรรมออกจากกัน เช่นผนังกั้นห้องนอนกับห้องนั่งเล่น ข้อใดไม่ใช่ลักษณะของ STL
1 : แปรผันตาม area density
2 : แปรผันตาม ความถี่ของเสียง
3 : แปรผกผันกับความหนาแน่น ของวัสดุที่ใช้
4 : แปรผันผกผันกับความหนาของวัสดุที่ใช้
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 361 : Sound Transmission Loss (STL) แสดงถึงความสามารถของวัสดุที่ใช้กั้นห้องที่ต้องการแยกกิจกรรมออกจากกัน เช่นผนังกั้นห้องนอนกับห้องนั่งเล่นท่านคาดว่า STL ของวัสดุในส่วนใดควรจะมีค่าสูงที่สุด
1 : ห้องนอน-ห้องนอน
2 : ห้องนอน-ห้องนั่งเล่น
3 : ห้องนั่งเล่น-ห้องครัว
4 : ห้องครัว-ห้องซักรีด
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 362 : airborne flanking noise หมายถึง
1 : การลดเสียงเนื่องจากมีฉากกั้นเสียง
2 : การเดินทางของเสียงผ่านจุดเชื่อมต่อของโครงสร้างอาคาร
3 : การได้ยินเสียงผ่านทางกะโหลกศรีษะ
4 : เสียงในสิ่งแวดล้อมปกติ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 363 : การใช้กำแพงกั้นเสียง ค่าสูงสุดที่กำแพงกั้นเสียงจะทำได้คือ
1 : 5 dB
2 : 20 dB
3 : 40 dB
4 : 70 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 364 : การใช้ผนังกั้นเสียง ค่าทั่วไปที่กำแพงกั้นเสียงจะทำได้คือ
1 : 5 dB
2 : 20 dB
3 : 40 dB
4 : 70 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 365 : ในการใช้กำแพงกั้นเสียงโดยใช้หลักการ Fresnel Number เมื่อตำแหน่งและความสูงของกำแพงกั้นเสียงเท่ากันนั้น ข้อใดถูกต้อง
1 : กำแพงจะกั้นเสียงความถี่สูงได้ดีกว่าเสียงความถี่ต่ำ
2 : วัสดุที่ใช้ทำกำแพงกั้นเสียงถ้ามีความถ่วงจำเพาะมากขึ้นจะกั้นเสียงได้ดีขึ้น
3 : วัสดุที่ใช้ทำกำแพงกั้นเสียงถ้ามีรูพรุนจะกั้นเสียงได้ดีขึ้น
4 : ยิ่งระดับเสียงเดิมมีระดับต่ำมากกำแพงกั้นเสียงจะมีประสิทธิภาพยิ่งลดลง
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 366 : กำแพงด้านหนึ่งของอาคารได้รับการสั่นความถี่ 100 Hz การขจัดสูงสุดวัดได้ 0.01 mm ความเร็วสูงสุดมีค่าเท่าไร การสั่นเป็นแบบไซน์
1 : 6.3 mm/s
2 : 6.6 mm/s
3 : 6.9 mm/s
4 : 7.2 mm/s
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 367 : กำแพงด้านหนึ่งของอาคารได้รับการสั่นความถี่ 100 Hz การขจัดสูงสุดวัดได้ 0.01 mm ค่า rms ของความเร็วเป็นเท่าไร ทั้งนี้การสั่นเป็นแบบไซน์
1 : 4.0 mm/s
2 : 4.4 mm/s
3 : 4.8 mm/s
4 : 5.2 mm/s
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 368 : ข้อใดไม่ใช้การควบคุมเสียงที่แหล่งกำเนิด
1 : การลดความเร็วรอบของเครื่องจักร
2 : การลดแรงเสียดทานที่จุดสัมผัสต่างๆ ของเครื่องมือโดยการใส่น้ำมันหล่อลื่น
3 : การติดตั้งแผ่นกันเสียงข้างทางด่วน
4 : การหุ้มหัวตอกโลหะด้วยยาง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 369 : ข้อใดไม่ใช้การควบคุมเสียงตามทางที่เสียงส่งผ่าน
1 : การเพิ่มวัสดุดูดซับเสียงที่ผนังห้อง
2 : การติดสปริงที่ฐานของมอเตอร์
3 : การออกห่างจากแหล่งกำเนิดเสียงดัง
4 : การสร้างห้องคลุมเครื่องปั่นไฟ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 370 : ผนังสั่นด้วยความถี่ 100 Hz เมื่อวัดค่า rms ของการสั่นที่จุดศูนย์กลางผนังได้ 1.0 mm/s ค่า rmsของ displacement จะเป็นเท่าไร
1 : 1.3 µm
2 : 1.4 µm
3 : 1.5 µm
4 : 1.6 µm
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 371 : ผนังสั่นด้วยความถี่ 100 Hz เมื่อวัดค่า rms ของการสั่นที่จุดศูนย์กลางผนังได้ 1.0 mm/s ค่า peak displacement คิดจากครึ่ง cycle จะเป็นเท่าไร
1 : 2.25 µm
2 : 2.50 µm
3 : 2.75 µm
4 : 3.00 µm
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 372 : อัมพลิจูดการสั่นของแผ่นวัสดุวัดได้ 15.0 m/s2 หลังจากการปรับปรุงด้วยการพ่นสารประกอบการหน่วง การสั่นลดลงมามีความเร่ง 0.85 m/s2 มีการลดค่าเดซิเบลลงเท่าไร
1 : 15.0 dB
2 : 20.0 dB
3 : 25.0 dB
4 : 30.0 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 373 : เสียงสั่นจากแผ่นโลหะหุ้มเครื่องจักรสั่นพ้องที่ความถี่ 1000 Hz วัดความสั่นด้วย accelerometer ได้ความเร่งแบบ rms 5.0 m/s2 แผ่นที่ครอบมีความเร็วแบบ rms เท่าไร
1 : 0.2 x 10-3 m/s2
2 : 0.4 x 10-3 m/s2
3 : 0.6 x 10-3 m/s2
4 : 0.8 x 10-3 m/s2
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 374 : เสียงสั่นจากแผ่นโลหะหุ้มเครื่องจักรสั่นพ้องที่ความถี่ 1000 Hz วัดความสั่นด้วย accelerometer ได้ความเร่งแบบ rms 5.0 m/s2 แผ่นที่ครอบมีการกระจัดเป็นเท่าไร
1 : 0.10 µm
2 : 0.13 µm
3 : 0.16 µm
4 : 0.19 µm
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 375 : เมื่อใช้กฎของมวล (Mass Law) การเพิ่มความหนาของผนังเป็นสองเท่า จะเพิ่มคุณสมบัติการลดเสียงของผนังได้เท่าไร
1 : 3 dB
2 : 5 dB
3 : 6 dB
4 : 10 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 376 : สัมประสิทธิ์การลดเสียง (noise reduction coefficient – NRC) ของวัสดุ เป็นค่าที่วัด
1 : ความดังเสียงที่ลดลงเมื่อเดินทางผ่านวัสดุ
2 : ค่าที่ลดลงของพลังงานเสียงที่สะท้อนจากวัสดุ
3 : ความสามารถของวัสดุในการทำให้เกิดเสียง
4 : ไม่มีข้อใดถูก
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 377 : การเพิ่มพื้นที่หน้าต่างเป็นสองเท่า มีผลอย่างไรต่อระดับเสียงจากภายนอกที่ส่งผ่านหน้าต่าง (สมมุติให้การส่งผ่านองค์ประกอบอื่นของอาคารมีน้อยมาก)
1 : ระดับเสียงในห้องเพิ่มขึ้น +10 dB
2 : ระดับเสียงในห้องเพิ่มขึ้น +6 dB
3 : ระดับเสียงในห้องเพิ่มขึ้น +3 dB
4 : ไม่มีผลต่อระดับเสียง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 378 : การเพิ่มความเร็วลมผ่านช่องตะแกรงให้อากาศ (supply air grille) เป็นสองเท่า มีผลอย่างไรต่อระดับเสียงที่เกิดจากช่องตะแกรงให้อากาศ
1 : +3 dB
2 : +6 dB
3 : +15 dB
4 : +18 dB
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 379 : คลื่นสะท้อน ¼ ความยาวคลื่น (a quarter wavelength resonator) ควรมีความยาวคลื่นเท่าไร เพื่อใช้ลบล้างเสียง 150 Hz (ความเร็วเสียง 380 เมตร/วินาที)
1 : 720 มม.
2 : 633 มม.
3 : 164 มม.
4 : 95 มม.
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 380 : ในการประเมินระดับเสียงของห้อง (room noise rating – NR) อาจประมาณจากค่า dB(A) ในห้องได้ โดยสมการดังต่อไปนี้ “NR = dB(A) + X” โดยที่ค่า X เท่ากับเท่าใด
1 : +5
2 : 0
3 : -5
4 : -10
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 381 : ข้อใดต่อไปนี้ไม่พิจารณาว่าเป็นวัสดุดูดซึมเสียงที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
1 : โฟมโพลียูรีเทนอย่างนิ่ม หนา 50 ม.ม.
2 : ไฟเบอร์กลาส ชนิด 10 กก./ลบ.ม. หนา 100 ม.ม.
3 : ใยหิน ชนิด 120 กก./ลบ.ม. หนา 150 ม.ม.
4 : โฟมโพลีสไตลีน ชนิด 10 กก./ลบ.ม. หนา 50 ม.ม.
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 382 : วัสดุต่อไปนี้ข้อใดไม่พิจารณาว่าเป็นวัสดุลดการส่งผ่านของเสียงในอากาศที่มีประสิทธิภาพเพียงพอ
1 : แผ่นไม้
2 : แผ่นคอนกรีต
3 : แผ่นใยแก้ว (ไฟเบอร์กลาส)
4 : แผ่นแก้ว
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 383 : วัสดุที่มีลักษณะพรุน (Porous absorber) ดูดกลืนเสียงประเภทใดได้ดี
1 : เสียงความถี่ต่ำกว่า 500 Hz
2 : เสียงความถี่ปานกลาง 500 Hz ถึง 1,000 Hz
3 : เสียงความถี่สูงกว่า 1,000 Hz
4 : เสียงทุกความถี่   
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 384 : วัสดุที่เป็นแผ่นบางๆ (Panel absorber) ดูดกลืนเสียงประเภทใดได้ดี
1 : เสียงความถี่ต่ำกว่า 500 Hz
2 : เสียงความถี่ปานกลาง 500 Hz ถึง 1,000 Hz
3 : เสียงความถี่สูงกว่า 1,000 Hz
4 : เสียงทุกความถี่
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 385 : แผ่นวัสดุที่รูจำนวนมาก (Cavity absorber) ใช้ดูดกลืนเสียงประเภทใดได้ดี
1 : เสียงความถี่ต่ำกว่า 500 Hz ลงมา
2 : เสียงความถี่สูงตั้งแต่ 1,000 Hz ขึ้นไป
3 : เสียงความถี่ต่ำช่วงแคบๆ
4 : เสียงความถี่สูงช่วงแคบๆ   
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 386 : ค่า NRC (Noise Reduction Coefficient) ของวัสดุคืออะไร
1 : ค่าการลดเสียงของผนังที่ความถี่ 500 Hz
2 : ค่าเฉลี่ยของ Absorption coefficients ที่ความถี่กึ่งกลาง 500 และ 1,000 Hz
3 : ค่าเฉลี่ยของ Absorption coefficients ที่ความถี่กึ่งกลาง 250, 500, 1,000 และ 2,000 Hz
4 : ค่าเฉลี่ยของ Absorption coefficients ที่ความถี่กึ่งกลางช่วง Octave band
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 387 :
ห้องบรรยาย ปริมาตร 450 ลบ.ม. มีพื้นผิวห้อง พื้นที่และ absorption coefficient ของผิวห้องที่ (550 Hz) ดังนี้
พื้นที่
Absorption coefficient
ผนังฉาบปูน
150 m2
0.02
พื้นปูพรม
150 m2
0.30
เพดาน plasterboard
150 m2
0.10
จุคน
100 คน
0.5 each
จงคำนวณค่าเวลากังวาน (Reverberation Time) ที่ 500 Hz ของห้อง (ใช้ RT = 0.16V/A)
1 : 0.13
2 : 0.16
3 : 0.64
4 : 78.3
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 388 : Reflective Noise Barrier คือ
1 : กำแพงกันเสียงที่ทำจากแผ่นโลหะ
2 : กำแพงกันเสียงที่มีคุณสมบัติของการสะท้อนเสียง
3 : กำแพงกันเสียงที่มีคุณสมบัติของการดูดซับเสียง
4 : กำแพงกันเสียงที่มีคุณสมบัติของการแปลงเสียง
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 389 : Absorptive Noise Barrier คือ
1 : กำแพงกันเสียงที่มีคุณสมบัติของการสะท้อนเสียง
2 : กำแพงกันเสียงที่มีคุณสมบัติของการแปลงเสียง
3 : กำแพงกันเสียงที่มีคุณสมบัติของการดูดซับเสียง
4 : กำแพงกันเสียงทำจากคอนกรีต
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 390 : แนวต้นไม้เป็นกำแพงกันเสียงที่ดีหรือไม่เพราะเหตุใด
1 : ดี เพราะว่าดูสวยงามเป็นธรรมชาติ
2 : ดี เพราะว่าสามารถป้องกันเสียงรบกวนได้ดีมาก
3 : ไม่ดี เพราะประสิทธิภาพของการป้องกันเสียงต่ำ
4 : ไม่ดี เพราะเป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์ป่าและสัตว์เลื้อยคลานต่างๆ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 391 : Porous Asphaltic Pavement คืออะไร และให้ประโยชน์ทางด้านเสียงจากจราจรอย่างไร
1 : คือ ผิวทางที่ทำจากแอสฟัลติกคอนกรีตที่มีรูพรุน ทำให้ลดระดับเสียงระหว่างล้อรถยนต์และผิวทาง
2 : คือ ผิวทางที่ทำจากแอสฟัลติกคอนกรีตชนิด Dense Grade ทำให้ลดระดับเสียงระหว่างล้อรถยนต์และผิวทาง
3 : คือ ผิวทางที่ทำจากแอสฟัลติกคอนกรีตชนิด Polymer Asphalt ทำให้ลดระดับเสียงระหว่างล้อรถยนต์และผิวทาง
4 : คือ ผิวทางที่ทำจากคอนกรีตชนิด Polymer Asphalt ทำให้ลดระดับเสียงระหว่างล้อรถยนต์และผิวทาง
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 392 : การป้องกันเสียง Highway Noise ที่ Noise Source ได้แก่
1 : ทำการกำจัดสิ่งกีดขวางตามแนวเส้นทางของทางหลวง
2 : ทำการออกแบบกำแพงกันเสียงตามแนวทางหลวง
3 : ทำการปรับปรุงผนังอาคาร ประตู หน้าต่างของอาคารบ้านเรือนริมทางหลวง
4 : ทำการออกแบบปรับปรุงผิวทาง แนวเส้นทาง และรูปแบบของดอกยางรถยนต์ รวมทั้งออกแบบการเก็บเสียงของรถยนต์
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 393 : การป้องกันเสียง Highway Noise ที่ Noise Path ได้แก่
1 : ทำการออกแบบกำแพงกันเสียงและ Green Belt ตามแนวทางหลวง
2 : ทำการออกแบบปรับปรุงผิวทาง ดอกยางรถยนต์ รวมทั้งรถยนต์
3 : ปรับปรุงผนังอาคาร ประตู หน้าต่าง ของอาคารบ้านเรือน
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 1
ข้อที่ 394 : การป้องกันเสียง Highway Noise ที่ Noise Receiver ได้แก่
1 : ก่อสร้างปรับปรุงผิวทาง ดอกยางรถยนต์ และการเก็บเสียงของรถยนต์
2 : ก่อสร้างปรับปรุงผนังอาคาร ประตู หน้าต่าง ของอาคารบ้านเรือนให้ป้องกันเสียงจากทางหลวงได้
3 : ออกแบบก่อสร้างกำแพงกันเสียงตามแนวทางหลวง
4 : ถูกทุกข้อ
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 395 : ข้อใดเป็นคุณสมบัติของ Cavity absorbers หรือ Helmholtz resonators
1 : ลดเสียงได้ดีช่วงความถี่ตั้งแต่ 1000 Hz ขึ้นไป
2 : ลดเสียงได้ดีช่วงความถี่ต่ำกว่า 500 Hz
3 : ลดเสียงได้ดีสำหรับความถี่ต่ำช่วงแคบๆ
4 : ลดเสียงได้ดีทั้งความถี่สูงและความถี่ต่ำ
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 396 : แผ่น absorbers ที่ใช้ลดเสียงช่วงความถี่ต่ำกว่า 500 Hz
1 : Porous absorbers
2 : Panel absorbers
3 : Cavity absorbers
4 : Impact absorbers
คำตอบที่ถูกต้อง : 2
ข้อที่ 397 : ในการใช้ผนังกั้นเสียง (Barrier) ข้อใดไม่ถูก
1 : การลดเสียงขึ้นอยู่กับ path difference
2 : การลดเสียงขึ้นอยู่กับความถี่ของเสียง
3 : การลดเสียงไม่ขึ้นกับตำแหน่งของผนังกั้นเสียง
4 :  การลดเสียงขึ้นอยู่กับความสูงของผนังกั้นเสียง
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 398 : Sound Reflector ในห้องประชุม ใช้เพื่ออะไร
1 : เครื่องประดับทางสถาปัตย์
2 : สะท้อนแสง
3 : ลดเสียงในห้อง
4 : สะท้อนเสียงไปยังผู้ฟัง
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 399 : ห้องที่มีเสียงก้องมากๆ ควรปรับปรุงให้เสียงดีขึ้นอย่างไรจึงดีที่สุด
1 : ปูพื้นไม้
2 : ปูกระเบื้องยาง
3 : ปูพรม
4 : ทำพื้นหินขัด
คำตอบที่ถูกต้อง : 3
ข้อที่ 400 : ในการลดเสียงผ่านผนัง (Transmission Loss) ผนังความหนาเท่ากันแบบใดลดเสียงช่วงความถี่ปานกลางได้มากที่สุด
1 : ไม้อัด
2 : กระจก
3 : คอนกรีต
4 : เหล็ก
คำตอบที่ถูกต้อง : 4
ข้อที่ 401 : การลดเสียงผ่านผนัง (Transmission Loss) ของเสียงความถี่ต่ำ ใช้หลักการใด
1 : Resonance Controlled
2 : Mass Controlled
3 : Coincidence Controlled
4 : Inverse Controlled
คำตอบที่ถูกต้อง : 1

ออฟไลน์ + ค ลิ นิ ก พ ร ร ณี

  • คณะก่อการ
  • ระดับ 5
  • ***
  • กระทู้: 1244
  • HL#8F626B02/70E83B6C/6C8548B0
Re: Sound and vibration Control เผื่อท่านที่อยากรู้ครับ
« ตอบกลับ #4 เมื่อ: วันที่ 29 เมษายน 2015, 14:38:40 น. »
แม้...อู๊ด ตูดบานเริ่มมีสาระ  :thank1: